Working languages:
English to Thai
Thai to English
Thai (monolingual)

Supaya Hingsuntia
Translator & Essay Writer ENG & THAI

Bangkok, Thailand
Local time: 11:40 +07 (GMT+7)

Native in: Thai (Variants: Central / Standard, Isan) Native in Thai
  • Send message through ProZ.com
Feedback from
clients and colleagues

on Willingness to Work Again info
No feedback collected
Account type Freelance translator and/or interpreter
Data security Created by Evelio Clavel-Rosales This person has a SecurePRO™ card. Because this person is not a ProZ.com Plus subscriber, to view his or her SecurePRO™ card you must be a ProZ.com Business member or Plus subscriber.
Affiliations This person is not affiliated with any business or Blue Board record at ProZ.com.
Services Translation, Editing/proofreading, Copywriting
Expertise
Specializes in:
Cooking / CulinaryCosmetics, Beauty
MusicPhotography/Imaging (& Graphic Arts)
Law: Contract(s)Law (general)
EconomicsInternet, e-Commerce
Investment / SecuritiesManagement

Rates

Portfolio Sample translations submitted: 3
Thai to English: Labour Law
General field: Law/Patents
Source text - Thai
คำเตือนพยาน


ผู้ใดขัดขืนไม่ไปศาลตามหมายนี้ ศาลอาจออกหมายจับ เอาตัวกักขังไว้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 111 ( 2) และผู้นั้น อาจถูกฟ้อง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 170 ต้องระวาง โทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ผู้ใดเบิกความเท็จมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 177 หรือมาตรา 181 ต้องระวางโทษอย่างสูงจำคุกไม่เกินสิบห้าปีและปรับไม่เกิน 30,000 บาท
Translation - English
A Warning Paper for the Witness (Oral Evidence)


Regardings the law court summons, if any witnesses reject a writ (subpoena), the law court mayl deliver a warrant of arrest as the following civil law section 111(2) and that person will be sue as the following criminal law section 170, will be prosecuted and arrested not over 6 months or fined not over THB 1,000 or, Will be both arrested for 6 months and fined not over THB 1,000.
Any witnesses perjure (give a falsification) to the law court, that person will be sue as the following criminal law section 177 or 181, will be prosecuted, arrested not over 5 years and fined not over THB 30,000.

Thai to English: Thesis of Literary Art
General field: Art/Literary
Source text - Thai



ภาพพจน์ในหนังสือการ์ตูนเรื่องพระเวสสันดรชาดก

ฐิตารีย์ พลสนอง
สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

บทคัดย่อ
งานวิจัยฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาการใช้ภาพพจน์ในวรรณกรรมสำหรับเด็กเรื่อง พระเวสสันดรชาดก ฉบับการ์ตูน ของ โอม รัชเวทย์ สำนักพิมพ์อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง โดยวิเคราะห์การใช้ภาษาที่ทำให้เกิดอารมณ์ความรู้สึกผ่านตัวละคร เนื่องจากวรรณกรรมสำหรับเด็กหรือหนังสือการ์ตูนเรื่องพระเวสสันดรชาดกนั้นมีรูปแบบการใช้ภาษาที่มีความน่าสนใจ โดยเฉพาะภาษาภาพพจน์ที่มีความแปลกใหม่และทำให้หนังสือการ์ตูนมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น สามารถเสริมสร้างจินตนาการทางความคิดให้แก่เด็ก อีกทั้งยังสามารถใช้ภาษาเพื่อจะสื่อทางการอบรมสั่งสอนได้อีกด้วย ผลการวิจัยพบว่าภาพพจน์ที่ปรากฏในหนังสือการ์ตูนพระเวสสันดรชาดกนี้ มีทั้งหมด ๔ ชนิด ได้แก่ สัทพจน์ อุปมา อติพจน์ และอุปลักษณ์ การใช้ภาพพจน์เหล่านี้มีความเหมาะสมกับเนื้อหาของเรื่อง เหมาะสมแก่เด็ก ผู้วิจัยมีความเห็นว่า ภาษาที่ใช้ในหนังสือการ์ตูนมีความน่าสนใจ โดยเฉพาะเรื่องการใช้ภาพพจน์ ที่ใช้ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดของตัวละคร รวมไปถึงเสียงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ เช่น เสียงฟ้าร้องฟ้าผ่า ฝนตก พายุ แผ่นดินไหว เป็นต้น นอกจากกนี้ช่วยสร้างอารมณ์และตัวละครให้เกิดความสมจริงมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเป็นกลวิธีการสร้างวรรณศิลป์ให้กับงานวรรณกรรมสำหรับเด็กด้วย

คำสำคัญ ภาพพจน์ หนังสือการ์ตูน พระเวสสันดรชาดก


บทนำ
เรื่องชาดกเป็นวิวัฒนาการแห่งการบำเพ็ญคุณงามความดีของพระพุทธเจ้า ตั้งแต่ยังเป็นพระโพธิสัตว์ จึงเป็นสาระสำคัญในการอบรมสั่งสอนเด็กให้เห็นถึงคุณงามความดีและคติธรรมในนิทานเกี่ยวกับการบำเพ็ญเพียรพยายามของพระพุทธเจ้าในชาติก่อน ทำให้เข้าใจหลักธรรมคำสอน หรือการประพฤติชอบชั่วดี เพื่อให้เข้าใจถึงการใช้ชีวิตที่เหมาะสมให้มากขึ้น ดังนั้น พระพุทธศาสนาจึงมีความเกี่ยวพันกับจิตใจของคนไทยมาตั้งแต่โบราณ จึงเป็นหลักที่พึ่งทางจิตใจของคนไทย พระพุทธศาสนาจึงมีอิทธิพลต่อวรรณกรรมไทยมากขึ้น คนไทยส่วนใหญ่มีความคุ้นเคยและรู้จักเรื่องราวในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างดี
มหาเวสสันดรชาดก เป็นวรรณคดีพุทธศาสนาที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป บ้างก็นิยมเรียกว่า มหาชาติ เนื่องจากเป็นเรื่องของพระโพธิสัตว์ เมื่อเสวยชาติเป็นพระเวสสันดร ซึ่งเป็นชาดกเรื่องสุดท้าย ในประเทศไทยนั้นมีมหาชาติคำหลวงเป็นวรรณคดีพุทธศาสนาเล่มแรก สันนิษฐานว่าแต่งขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อจากนั้นมีมหาชาติคำหลวงอีกสำนวนหนึ่ง สันนิษฐานว่าแต่งขึ้นในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ภายหลังเรียกว่า กาพย์มหาชาติ และในสมัยรัตนโกสินทร์มีร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก เรื่องมหาชาตินี้ในประเทศไทยเป็นที่นิยมกันมากในหมู่พุทธศาสนิกชน ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพราะถือกันว่าเป็นพระชาติที่สำคัญที่สุดของพระโพธิสัตว์ อีกทั้งในปัจจุบันก็ปรากฏวรรณกรรมสำหรับเด็กที่มีเรื่องราวพระเวสสันดร เช่นกัน
วรรณกรรมสำหรับเด็กปัจจุบันมีลักษณะเป็นหนังสือการ์ตูน สอดแทรกความรู้ ความคิดไปในเนื้อหาสาระ หนังสือการ์ตูนจึงมีอิทธิพลต่อการถ่ายทอดค่านิยม และวัฒนธรรมต่างๆ ให้แก่เด็ก โดยที่เด็กสนใจอ่านอย่างเพลิดเพลินไม่น่าเบื่อ คุณธรรมที่สอดแทรกในวรรณกรรมสำหรับเด็ก มีอิทธิพลต่อการส่งเสริมความคิดและพฤติกรรมของเด็กในอนาคต สังเกตได้ว่าเมื่อเด็กได้ฟังหรืออ่านนิทาน เด็กจะเลียนแบบพฤติกรรมของตัวละครที่ตนเองนั้นพึงพอใจจากเรื่อง ดังนั้น ผู้เขียนวรรณกรรมสำหรับเด็กสามารถปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมอันดีงามไว้ในต้นแบบเหล่านี้
ปัจจุบันกลวิธีการใช้ภาษาในงานเขียนต่างๆ รวมไปถึงงานเขียนวรรณกรรมสำหรับเด็กย่อมต้องมีความเหมาะสมกับวัยเด็ก ซึ่งวรรณกรรมเรื่องพระเวสสันดรชาดกเป็นที่นิยมหรือเป็นที่รู้จักกันมากในเรื่องของการให้ทานบารมี การทำบุญเพื่อไปเป็นพระโพธิสัตว์ ด้านภาษาของเรื่องนี้จึงเป็นการใช้ภาษาที่ง่ายและเหมาะสมสำหรับเด็กอ่าน ให้เด็กเกิดความสนุกไม่น่าเบื่อ มีการใช้คำที่แสดงอารมณ์อย่างเห็นได้ชัดเจน เพราะภาษาที่ใช้นั้นทำให้เด็กทำเป็นแบบอย่างหรือลอกเลียนแบบได้ จะเห็นได้จากการเล่าเรื่องพระเวสสันดรในฉบับการ์ตูนนี้ที่ใช้ภาษาเข้าใจง่ายและทำให้เด็กเกิดจินตนาการได้จากการใช้ภาษาภาพพจน์
ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้นำเอาวรรณกรรมสำหรับเด็กเรื่องพระเวสสันดรฉบับการ์ตูนมาศึกษาภาพพจน์ เนื่องจากผู้วิจัยคิดว่าการใช้ภาพพจน์ในหนังสือการ์ตูนจะช่วยสร้างจินตนาการและทำให้เด็กที่ได้อ่านเข้าใจเรื่องราวของพระเวสสันดรได้มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้หนังสือการ์ตูนที่นำมาใช้ในการศึกษาเป็นวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาควรใช้ภาษาที่ถูกต้องให้ประโยชน์และแง่คิดที่ดีแก่เด็กได้ ผู้วิจัยจึงศึกษาวรรณกรรมสำหรับเด็กที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับพระเวสสันดรมาศึกษาวิเคราะห์ภาพพจน์ในหนังสือการ์ตูน
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อศึกษภาพพจน์ในเรื่องพระเวสสันดรฉบับการ์ตูน

ระเบียบวิธีวิจัย
การศึกษาภาพพจน์ในหนังสือการ์ตูนเรื่องเวสสันดรชาดก ผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาโดยดำเนินการศึกษาตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้
๑. ศึกษาและทบทวนวรรณกรรม เอกสาร และงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเวสสันดรชาดกมีงานเอกสารและวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาพระเวสสันดรชาดกไว้มากมาย หลากหลายประเด็นในการศึกษา ไว้ดังนี้
บรรจบ บรรณรุจิ (๒๕๔๙) พระเวสสันดรมหาบุรุษแห่งหิมพานต์ เป็นการกล่าวเล่าเรื่องราวของพระเวสสันดรตั้งแต่พระองค์กำเนิดก็มีความมุ่งมั่นที่จะให้ทาน เป็นบุตรที่มีความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ มีความเสียสละ และมีความอดทนต่อทุกความยากลำบาก จนบรรลุธรรมเป็นพระโพธิณาณ
พระมหาบุญทัน อานนฺโท (๒๕๔๐) การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่องเวสสันดรชาดก ศึกษาเฉพาะทานบารมี จากการศึกษาทำให้ทราบว่า การบำเพ็ญทานของพระเวสสันดรนั้น พระองค์มีอุดมการณ์อย่างแน่วแน่ในการกระทำทาน แม้บางครั้งจะพบอุปสรรคมากมาย พระองค์ก็ไม่ละความมุ่งมั่นนั้น เพราะทรงมุ่งประโยชน์สูงสุดคือ พระโพธิญาณ อันจะเป็นเครื่องนำสรรพสัตว์ให้พ้นจากความทุกข์
๒. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหนังสือการ์ตูนสำหรับเด็กมีงานเอกสารและวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาหนังสือการ์ตูนสำหรับเด็กไว้มากมาย หลากหลายประเด็นในการศึกษา ไว้ดังนี้
วิไล ธรรมวาจา (๒๕๕๙: ๑-๓๔) วรรณกรรมสำหรับเด็ก หมายถึง ทรัพยากรสารนิเทศที่มีจุดมุ่งหมายในการจัดทำขึ้นเพื่อเด็กอ่านโดยเฉพาะ หรืออาจให้ผู้ใหญ่อ่านให้ฟังก็ได้ ถ้าเป็นเด็กเล็กๆ อาจเป็นวรรณกรรมประเภทหนังสือ เช่น หนังสือภาพวาดหรือหนังสือการ์ตูน วรรณกรรมสำหรับเด็กจะต้องจัดทำขึ้นให้เนื้อหาสาระ ภาษา รูปเล่ม และตัวอักษรที่เหมาะกับวัย ความรู้และความสามารถของเด็กด้วย
ไพเราะ เรืองศิริ (๒๕๒๔) การ์ตูนคือภาพวาดง่าย ๆ ที่มีแบบเฉพาะตัวไม่เหมือนภาพธรรมดาทั่วไป ภาพการ์ตูนอาจมีรูปร่างที่เกินความเป็นจริงหรือลดรายละเอียดที่ ไม่จำเป็นออก เพื่อจุดมุ่งหมายในการบรรยายการแสดงออกมุ่งเน้นให้เกิดความตลกขบขัน ล้อเลียน เสียดสีการเมืองและสังคม รวมไปถึงการนำไปใช้ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ให้หน้าสนใจมากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นอาจจะใช้เพื่อประกอบการเล่าเรื่องบันเทิงคดี สารคดีต่างๆได้อีกด้วย
ดังนั้น สรุปความหมายของการ์ตูนได้ว่า การ์ตูน คือ รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ที่เกิดจากการวาด เพื่อสร้างความตลกขบขัน สื่อความหมาย หรือล้อเลียนสังคม ซึ่งอาจมีลักษณะเกินความจริง เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ หรือแสดงแนวคิดต่างๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจการ์ตูน นอกจากเป็นเรื่องราว หรือกรอบสั้น ๆ ในหนังสือแล้ว ปัจจุบันการ์ตูนนิยมสร้างเป็นภาพเคลื่อนไหวเพื่อให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น แต่สำหรับการ์ตูนที่นำเสนอเรื่องราวในหนังสือนิยมสร้างสำหรับการเรียนรู้ เพิ่มทักษะการอ่านไปในตัวได้ด้วย
๓ ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาพพจน์ มีหนังสืออ้างอิงมากกมายเกี่ยวการใช้ภาพพจน์ ผู้วิจัยจึงนำเอามาศึกษาในประเด็นต่างๆดังต่อไปนี้
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๕๔: ๓๗๖) ให้ความหมายของ ภาพพจน์ไว้ว่า “น. ถ้อยคําที่เป็นสํานวนโวหารทําให้นกเห็นเป็นภาพ, ถ้อยคําที่เรียบเรียงอย่างมีชั้นเชิงเป็นโวหาร มีเจตนาให้มีประสิทธิผลต่อความคิด ความเข้าใจให้จินตนาการและถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้งกว่าการบอกเล่าที่ตรงไปตรงมา
สรุป ภาพพจน์ คือ กลวิธีการเรียบเรียงถ้อยคำลักษณะต่างๆที่ผู้เขียนตั้งใจใช้เพื่อให้เกิดผลทางจินตภาพหรือทำให้เกิดความซาบซึ้งอารมณ์คล้อยตาม ทำให้เกิดประทับใจได้มากกว่าการเขียนอย่างธรรมดา
๔. ศึกษาภาษาภาพพจน์ในหนังสือการ์ตูนเรื่องพระเวสสันดรชาดก
๕. สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ

ผลการวิจัย
ลักษณะภาษาด้านการใช้ภาพพจน์
ภาพพจน์เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการเขียนงานบันเทิง ดังนั้นการเขียนหนังสือการ์ตูนก็มีรูปแบบเช่นเดียวกัน เป็นงานเขียนที่มุ่งให้ความเพลิดเพลิน ความบันเทิงใจและงานเขียนที่เน้นความสนุกสนานจึงควรใช้ภาพพจน์ประกอบการเขียนด้วย การใช้ภาพพจน์นอกจากให้คุณค่าด้านความบันเทิงแล้วยังถือว่าเป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้อ่านเกิดความคิดสร้างสรรค์จดจำแนวทางที่เหมาะสมแล้วนำไปใช้ในการสื่อความกับผู้อื่นด้วย
จากการศึกษาภาพพจน์ในหนังสือการ์ตูนเรื่องพระเวสสันดรแล้วพบว่ามีที่ใช้ในบทสนทนาและคำบรรยายในการดำเนินเรื่อง จำนวน ๔ ชนิด จะอธิบายรายละเอียดและยกตัวอย่างมาพอสังเขปดังต่อไปนี้
สัทพจน์
อุปมา
อติพจน์
อุปลักษณ์

๑. ภาพพจน์สัทพจน์
สัทพจน์ เป็นวิธีการถ่ายทอดเสียงที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติซึ่งอาจเป็นเสียงร้อง เสียงจากกิริยาของคน และของสัตว์ เสียงที่เกิดขึ้นจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ได้แก่ เสียงฟ้าร้อง เสียงฟ้าผ่า เสียงลมพัด เป็นต้น (พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรม ฉบับราชบัณฑิตยสภา, ๒๕๖๐: ๓๖๓)
ผู้วิจัยสามารถอธิบายถึงภาพพจน์การใช้คำเลียนเสียงธรรมชาติ โดยแบ่งออกได้ดังต่อไปนี้

คำเลียนเสียงธรรมชาติที่เกิดจากกริยาของคนและสัตว์
กุบ.......กุบ......
ให้ความรู้สึกและเห็นภาพการเคลื่อนที่ของม้าขณะส่งเสียงร้อง เป็นคำเลียนเสียงที่ใช้มาแต่เดิม ซึ่งเหมาะสมในการใช้แล้ว
อุแว้
ให้ความรู้สึกและเห็นภาพเด็กแรกเกิดร้องเป็นคำเลียนเสียงที่ใช้มีแต่เดิมซึ่งเหมาะสมในการใช้แล้ว
โฮ่ง โฮ่ง
ให้ความรู้สึกและเห็นภาพของสุนัขเห่า เป็นคำเลียนเสียงที่ใช้มาแต่เดิมซึ่งใช้ได้เหมาะสม
อ๊อก...ก อุ๊บ...บ
ให้ความรู้สึกและเห็นภาพของอาการแน่นท้องอาหารไม่ย่อยเป็นคำที่ใช้เลียนเสียงได้เหมาะสมแล้ว

คำเลียนเสียงธรรมชาติที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
ครืน ครืน
ให้ความรู้สึกและเห็นภาพ แผ่นดินเกิดหวั่นไหว ขุนเขาสั่นคอน ท้องฟ้าคะนองลั่น เกิดฝนตกลูกเห็บและทะเลเกิดคลื่นปั่นป่วนเป็นคำเลียนเสียงที่ใช้มาแต่เดิม ซึ่งมีความเหมาะสมแล้ว
ซู่
ให้ความรู้สึกและเห็นภาพความแปรปรวนของท้องฟ้าและฝนตกอย่างหนักเป็นคำเลียนเสียงที่เหมาะสม

สัทพจน์ในหนังสือการ์ตูนเรื่องพระเวสสันดร มีวิธีการถ่ายทอดเสียงที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติซึ่งอาจเป็นเสียงร้อง เสียงจากกิริยาของคน และเสียงที่เกิดขึ้นจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ซึ่งการใช้เสียงเพื่อบรรยายสถานการณ์ต่าง ๆ หรืออาการตัวละคร ทำให้ผู้อ่านได้เห็นภาพชัดเจนเป็นการเพิ่มอารมณ์และความรู้สึกนึกคิดให้ผู้อ่านได้เข้าใจและสัมผัสถึงสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น อีกทั้งยังสร้างจินตนาการได้อย่างชัดเจน

๒. ภาพพจน์อุปมา
อุปมา เป็นการนำเอาสิ่งที่ต่างประเภทกัน ๒ สิ่งมาเปรียบเทียบกันโดยใช้คำเชื่อม คำว่า ดัง ดั่ง ปาน เท่า เทียบ ดุจ เหมือน ราวกับ เป็นต้น (พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรม ฉบับราชบัณฑิตยสภา, ๒๕๖๐: ๔๗๘) ดังตัวอย่างต่อไปนี้

“นางผุสดี: ขอพระองค์อย่าขับไล่ลูกคำของชาวเมืองเลย แล้วจะมีใครต่างพระเนตรพระกรรณ พระองค์จะถูกอำมาตย์ทอดทิ้ง บ้านเมืองจะเป็นดังรังผึ้งร้าง
พระเจ้าสญชัย: ผุสดีน้องรัก พี่จำต้องทำตามราชประเพณีแต่โบราณ แม้ลูกจะเป็นดุจธงชัยของแคว้นสีพี ถึงจะรักลูกเท่าชีวิต แต่ก็ต้องเนรเทศเขา”
(โอม รัชเวทย์, ๒๕๓๗: ๓๙)

บทสนทนานี้เป็นการสนทนาระหว่างพระเจ้าสญชัยกับนางผุสดี ในสถานการณ์ที่ชาวบ้านขับไล่พระเวสสันดรออกจากเมืองแต่นางผุสดีผู้เป็นแม่ไม่ยอมจึงมาเจรจากับพระเจ้าสญชัยเพื่อไม่อยากให้ลูกต้องถูกเนรเทศ มีการใช้ภาพพจน์อุปมา ใช้คำแสดงการเปรียบเทียบว่า ดัง ดุจ และเท่า จะเห็นได้จากการเปรียบบ้านเมือง ดัง รังผึ้งร้าง ใช้คำเปรียบเทียบที่มีความหมายว่า มนุษย์ที่มีบ้านเมืองเป็นที่อยู่อาศัยแต่กลับกลายเป็นว่าต้องเร่ร่อนออกไปอยู่ตามป่าตามเขา เช่นเดียวกับรังผึ้งที่มีผึ้งคอยสร้างที่อยู่อาศัยและน้ำหวานที่สามารถทำให้ผึ้งได้มีชีวิตและสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ หากผึ้งไม่ได้อยู่รังก็เปรียบเสมือนรังร้างที่ไม่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เช่นเดียวกัน และเปรียบเทียบคำว่า ลูก ดุจ ธงชัย มีความหมายว่าลูกเป็นเหมือนความภาคภูมิใจและความสำเร็จของพ่อและแม่ซึ่งเปรียบความรักของพ่อแม่ที่มีต่อลูกเท่ากับความรักในชีวิตของตนเอง จากการการใช้อุปมาทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์และความรู้สึกตามตัวละคร

“พวกชาวบ้าน: อิจฉาเฒ่าชูชกจริงๆ ว่ะ เมียมันทั้งสาวทั้งสวยราวกับนางฟ้า”
(โอม รัชเวทย์, ๒๕๓๗: ๕๓)
การสนทนาของพวกชาวบ้านที่เกิดอาการอิจฉาชูชกที่ได้ภรรยาที่ทั้งสวยและสาว มีการใช้ภาพพจน์อุปมา ใช้คำแสดงการเปรียบเทียบคำว่า ราวกับ ทำให้ผู้อ่านรู้สึกถึงความงามของภรรยาชูชกเหมือนกับความงามของนางฟ้านางสวรรค์

“พระเวสสันดร: ขอลูกทั้งสองจงเป็นดังสำเภาทองนำพ่อข้ามห้วงมหาสมุทรคือภพ เพื่อพ่อจะข้ามฝั่งคือการเกิด แล้วจะนำมนุษย์และเทวดาทั้งหลายให้ข้ามพ้นไปด้วย จงช่วยเป็นยอดทานบารมีในครั้งนี้ให้พ่อด้วยเถิด”
(โอม รัชเวทย์, ๒๕๓๗: ๗๒)

บทสนทนานี้เป็นการสนทนาของพระเวสสันดรกับกัณหาชาลี ในสถานการณ์ที่ชูชกมาขอบุตรของตนเองและต้องให้ทานแก่ชูชกในการขอครั้งนี้ โดยมีการใช้ภาพพจน์อุปมา ใช้เปรียบเทียบคำว่า ดัง โดยเปรียบลูกทั้งสองเป็นดังสำเภาทอง ซึ่งให้ความหมายว่า การบริจาคทานของพระเวสสันดรเป็นการบริจาคที่ทั้ง พ่อคือผู้ให้ และ ลูกทั้งสองคือผู้ที่ศรัทธาจุดมุ่งหมายอันสูงสุดนั้นและยินยอมพร้อมใจกันทั้งสองฝ่ายพาพ่อสำเร็จบารมีจึงทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์และความรู้สึกตามตัวละคร

๓. ภาพพจน์อติพจน์
อติพจน์ เป็นการกล่าวเกินจริงเพื่อเน้นความ โดยไม่ให้เข้าใจตรงไปตรงมา (พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรม ฉบับราชบัณฑิตยสภา, ๒๕๖๐: ๒๕๖-๒๕๗) มีตัวอย่างดังนี้

“พระเวสสันดร: แม้เราจะรักลูกทั้งสองเพียงใด แต่ก็รักพระโพธิญาณยิ่งกว่าร้อยเท่าพันเท่า”
(โอม รัชเวทย์, ๒๕๓๗: ๗๕)
บทสนทนานี้เป็นการสนทนาของพระเวสสันดรกับ ชูชกกล่าวถึงความรักที่มีต่อบุตรทั้งสองคนและความรักใน พระโพธิญาณที่สูงส่งมากยิ่งกว่า ทำให้ผู้อ่านได้เกิดความรู้สึกถึงความรักที่มีมากกว่าทุกสิ่งของพระเวสสันดร

๔. ภาพพจน์อุปลักษณ์
อุปลักษณ์ เป็นการนำเอาสิ่งที่ต่างกัน ๒ สิ่งหรือมากกว่า แต่มีคุณสมบัติบางประการร่วมกันมาเปรียบเทียบ โดยเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่งโดยตรงกันข้าม (พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรม ฉบับราชบัณฑิตยสภา, ๒๕๖๐ : ๓๑๙) ดังยกตัวอย่างมาอธิบายพอสังเขป ดังต่อไปนี้

“กัณหา: ฮือ...เสด็จพ่อช่วยลูกด้วย พราหมณ์ผู้นี้เป็นยักษ์เป็นมารตีหม่อมฉันกับน้องด้วยไม้จนเนื้อแตกไปหมดแล้ว”
(โอม รัชเวทย์, ๒๕๓๗: ๗๘)
บทสนทนานี้เป็นการสนทนาของกัณหากับพระเวสสันดร ในสถานการณ์ที่ชูชกมาขอบุตรของตนเองและต้องให้ทานแก่ชูชกในการขอครั้งนี้และทำร้ายเฆี่ยนตีจนเนื้อ ตัวแตก การใช้ภาพพจน์อุปลักษณ์ โดยใช้คำแสดงการเปรียบเทียบคำว่า เป็น ทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์และความรู้สึกตามตัวละครว่าพราหมณ์มีจิตใจร้ายยิ่งกว่ายักษ์มาร
จากการศึกษาภาพพจน์ในหนังสือการ์ตูนเรื่องพระเวสสันดร ผู้วิจัยเห็นว่าการใช้ภาพพจน์ในหนังสือการ์ตูนนั้นมีความเหมาะสมอย่างยิ่ง เพราะหนังสือการ์ตูนเป็นหนังสือประเภทหนึ่งที่อยู่ในกลุ่มบันเทิงคดี ซึ่งมีเนื้อหาสาระที่มุ่งให้ผู้อ่านเกิดความเพลิดเพลินบันเทิงใจทำให้เกิดความคิดจินตนาการไปตามถ้อยคำที่ผู้เขียนเลือกสรรมาเขียน การใช้ภาพพจน์ในบางครั้งเป็นไปได้ตามความสมจริงตามที่ผู้แต่งคาดว่าเด็กจะสามารถจินตนาการตามได้ และในขณะเดียวกันอาจใช้ภาพพจน์ที่สมมุติขึ้นให้เหนือกว่าธรรมชาติตามปกติ จึงเป็นสิ่งที่กระตุ้นและเร้าความสนใจให้ผู้อ่านเกิดความบันเทิงทางด้านอารมณ์และเกิดความรู้สึกนึกคิดแตกต่างกันออกไปตามแต่ละบุคคล

สรุปและอภิปรายผล
ผลการวิจัยสรุปว่าภาพพจน์ที่ปรากฏในหนังสือการ์ตูนพระเวสสันดรทำให้ทราบถึงลักษณะของการใช้ภาพพจน์ที่ปรากฏในหนังสือการ์ตูนเรื่อง พระเวสสันดร พบว่ามีการใช้ภาพพจน์ในบทสนทนามากกว่าคำบรรยายดำเนินเรื่อง ซึ่งมีการใช้ภาพพจน์จำนวน ๔ ชนิด โดยผู้เขียนมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ความรู้สึก และเกิดภาพในจิตหรือจินตนาการ นอกเหนือจากรูปภาพประกอบเนื้อเรื่องได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ผู้วิจัยสรุปอธิบายรายละเอียดดังต่อไปนี้
๑. ภาพพจน์สัทพจน์พบว่ามีการใช้ในลักษณะที่เป็นคำประกอบเรื่องและภาพอยู่ ๒ ประเภท ได้แก่ เสียงที่เกิดจากกิริยาอาการของตัวละคร และเสียงที่เกิดจากธรรมชาติ
๒. ภาพพจน์อุปมา พบว่ามีการใช้ในลักษณะที่เป็นการเปรียบเทียบถึงลักษณะพฤติกรรมการกระทำของตัวละคร ซึ่งมีการใช้คำเปรียบเทียบ คำว่า ดัง ดั่ง เท่า ดุจ เหมือน ราวกับ เป็นต้น ปรากฏในบทสนทนามากกว่าคำบรรยายดำเนินเรื่อง โดยส่วนมากใช้ได้ถูกต้องตามสถานการณ์แล้ว
๓. ภาพพจน์อติพจน์ พบว่ามีการใช้ภาพพจน์ที่กล่าวเกินจริงเพื่อเน้นย้ำความรู้สึกของ ตัวละคร เช่น ความรัก โดยผู้เขียนมุ่งให้ผู้อ่านทราบถึงความรู้สึกว่าตัวละครมีความรักได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
๔.ภาพพจน์อุปลักษณ์ พบว่ามีการใช้ในลักษณะที่เป็นการเปรียบเทียบสิ่งที่ต่างกันว่าเป็นสิ่งที่เหมือนกันมีคำช่วยเปรียบ ซึ่งพบในบทสนทนาคำบรรยายในการดำเนินเรื่องและใช้ในปริบทต่าง ๆ ได้เหมาะสมแล้ว
อย่างไรก็ตามผู้เขียนงานวรรณกรรมหรือผู้ผลิตหนังสือการ์ตูนหรือหนังสือสำหรับเด็ก ตลอดจนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหลายควรให้ความสำคัญในการเลือกใช้ภาษาในด้านภาพพจน์ ตลอดจนรูปภาพประกอบเนื้อเรื่องที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัยของผู้อ่านเป็นสำคัญ สิ่งเหล่านี้จะส่งผลให้หนังสือการ์ตูนเป็นหนังสือที่ดีมีคุณภาพ ไม่เป็นพิษภัยต่อเด็กอีกทั้งยังเป็นสื่อเสริมสร้างการเรียนรู้และเป็นสื่อประกอบการศึกษา อีกทั้งยังเป็นแนวทางในการเสริมสร้างจินตนาการรับรู้ถึงอารมณ์ของตัวละคร หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ในเรื่อง การศึกษาภาพพจน์ในหนังสือการ์ตูนพระเวสสันดรจึงเป็นประโยชน์ต่อการสร้างสรรค์งานวรรณกรรมสำหรับเด็กเพื่อให้มีประสิทธิภาพที่ดีและเหมาะสมกับเด็ก

ข้อเสนอแนะ
๑. การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาภาพพจน์ในหนังสือการ์ตูน ผู้วิจัยเห็นว่าควรมีการศึกษาการใช้ภาษาในหนังสือการ์ตูนเรื่องอื่น เช่น การใช้คำ การใช้สำนวน หนังสือการ์ตูนเรื่องอื่น ๆ
๒. จากการวิเคราะห์ภาพพจน์ พบว่าภาพพจน์ที่ใช้ในหนังสือการ์ตูนเรื่องนี้มีภาพพจน์เพียง ๔ ชนิด ผู้วิจัยจึงเห็นว่า ควรมีการศึกษาเนื้อเรื่องในหนังสือการ์ตูนที่ไม่ใช่วรรณกรรมประเภทศาสนา ซึ่งอาจพบภาพพจน์ที่หลากหลายมากขึ้น
๓. ควรมีการศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรม การอ่านหนังสือการ์ตูน เพื่อให้ทราบถึงความต้องการในการอ่านของเด็กและนำผลที่ได้มาปรับปรุงสร้างสรรค์วรรณกรรมที่กระตุ้นความสนใจของเด็กในเรื่องอื่น ๆ ต่อไป





เอกสารอ้างอิง
บรรจบ บรรณรุจิ. (๒๕๔๙). พระเวสสันดร มหาบุรุษแห่งหิมพานต์. (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ: ดีเอ็มจี.
พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรม ฉบับราชบัณฑิตยสภา. (๒๕๖๐). (แก้ไขเพิ่มเติม) พิมพ์ครั้งที่ ๒ กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์
พระมหาบุญทัน อานนฺโท (พาหา). (๒๕๔๐). การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่องเวสสันดรชาดก ศึกษาเฉพาะทานบารมี. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต ปรัชญา,มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ไพเราะ เรืองศิริ. (๒๕๒๙). การสร้างสรรค์วรรณกรรมและหนังสือสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๔).พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊กส์ พับลิเคชั่น.
วิจิตรวาทการ, พล.ต. หลวง. (๒๕๕๑). วรรณคดีชาดก: ทศชาติของพระพุทธองค์. (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊คส์.
วิไล ธรรมวาจา. (๒๕๕๙). วรรณกรรมกับเด็ก. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สืบพงศ์ ธรรมชาติ. (๒๕๔๒). วรรณคดีชาดก. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
โอม รัชเวทย์. (๒๕๓๗). พระเวสสันดร. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิซชิ่ง จำกัด (มหาชน).
Translation - English
The Figure of Speech from the Vessantara Jataka comic

Thitaree Polsanong

Thai Language Major, The Faculty of Humanities and Social Science, Ratchapat Suan Sunandha University, Bangkok Thailand

Email: [email protected]
Contact: (66) 092 261 6092






Abstract: This research paper objects to study the usage of the figure of speech from the literature comic book for kids, Vessantara Jataka (Maha Vessandorn Chadok), created and written by Ohm Raychavet (Amarin printing and public leasing company). Studying by analyzing the speech that is used in the literature which imply the feeling through the cartoon characters. Regardings to the Vessantara Jataka comic book, the usage of literary language in the comic is appealing, especially the figure of speech in the comic creates a novel writing and causes the book is more attractive. Above that, it enhances the imagination of children along with the usage of the comic as an instruction media. According to the study of the Vessantara Jataka comic book, there are four types that are used as the figure of speech which is (1) Onomatopoeia, (2) Simile, (3) Hyperbole, (4) Metaphor. The usage of the figure of speech in this comic book is suitable for children and compatible with the content. The study author has an opinion that the literary language in Vessantara Jataka comic book is interesting for research, especially the figure of speech that enlivens the perception of the characters including others important components such as lightning sound. Additionally, the art of the language makes the comic more surreal and also tactical for the literature for children.

Index terms: The figure of speech, comic book, Vessantara Jataka, Bodhisatta




INTRODUCTION

Jataka is a collective story of the Buddha’ virtue since he is a Bodhisatta which is considered to be an educational media for children to perceive virtue and moral in the comic as how the Buddha conducted in the previous lifetime which builds the understanding of the good and bad moral which influences human behaviors in proper. Most of Thai people have a belief in Buddhism which causes the influence in Thai literature.
Vessantara Jataka is a well-known Buddhist literature, or called as a great incarnation of the Buddha as it is the story of Gautama Buddha which is the story of the last incarnation of the Buddha. In Thailand, Maha Chart Kam Luang (Vessantara Jataka) is a first Buddhist literature which is assumed that was created in the reign of King Rama XIII in the Ayuddhaya Age. Afterward, it was called Kalp Mahachart, and Maha Vessandorn Chadok in present. The literature is famous among Thais because it is a significant story of Buddha. Above that, in the present, the Buddhist literature for children has appeared as a comic.
The Buddhist comic contains an instructive content. A comic is a way to publish social value and culture towards children as an entertainment media for them meanwhile giving them knowledge and fun at the same time. The content nourishes children perception and behavior as most children will learn and imitate behavior from what they see and listen.
Nowadays, the tactical of the language in the literature for children need to use proper language and easy to understand. Moreover, using the figure of speech that can describe the feeling and perception of the characters in detail encourage the children’s imagination.
Therefore, the researcher refers the literature of Vessantara Jataka in a comic version to study about the figure of speech as the author has an opinion as it builds imagination and encourages children to understand the story of Buddha. As a result, the researcher chooses this literature to analyze the figure of speech in the comic.

THE OBJECTIVES OF THE STUDY

To study the figure of speech from Vessantara Jataka in a comic version.

THE PROCEDURE OF THE STUDY

The study of the figure of speech from Vessantara Jataka is studied by the researcher by following procedures;
studying the literature documents and related researches of Vessantara Jataka as following;
Vessantara, the gallant of Himmapan Baanjob Baanruji (2006) wrote about the story of Vessantara since he was born and had an aim to do virtue. He made a sacrifice and endure the hardness of living and became a Bodhisattva.
The analytical study of Vessantara written by Phra Maha Boontaan Aanonto (1997), the study of Vessantara height of generosity. According to the study, a steady ideology of doing good morals of Vessantara was shown in the study. Even though there were many obstacles, he never gave up because his highest aim is to be a Bodhisattva which is the guidance of getting rid of suffering.
studying documents and researches which is related to the comic version of Vessantara Jataka as following;
Wilai Thammawaja (2016, p.1-34) stated that the literature for children is an information resource for children to read or adults can read for their children. If they are toddlers, the book should be a graphic book or comic with the design that is attractive and suitable for children.
Pairoa Ruengsiri (1981) stated that comic or cartoon book is an easy drawing which is unique and odd from a normal picture. Cartoon drawing may have an unreal shape or decrease the insignificant detail to focus more on the humor including using advertisement to enhance its attractiveness.
Hence, the summary meaning of the cartoon is a picture or a symbol from drawing, to create joyfulness or social imitation which may contain the unreal content, to convey the emotion and perception to understand the cartoon character. Currently, the cartoon is popular to make as an animation to make it easier to understand. In contrast, the comic is popular to make it as an educational media in order to enhance reading and analytical skill.
studying documents and researches which is related to the usage of the figure of speech as following;
Dictionary of Royal Thai Academy (2011, p.376) stated the meaning of the figure of speech that it is a term, an expression, or a phrase which illustrates the detailed picture which the speech can be arranged above ordinary to make the clear image of the content.
To summarize, the figure of speech is to tactical compose the various words that the author intended to utilize for visual effects or sentimental more than writing normally.
studying the figure of speech that is utilized in a comic of Vessantara Jataka
summarizing the study and suggestion

THE RESULT OF THE STUDY

The category of the figure of speech;
The usage of the figure of speech is a component of creative writing as similar as a comic which emphasizes the entertainment, fun, and humor in writing. Moreover, enjoy reading, the reader can develop the imaginary creativity skill which accesses the reader to be able to transmit the obvious content through the figure of speech.
Regarding the study of the figure of speech from Vessantara Jataka comic book, the content and conversation in the book contain four categories of the figure of speech;
(1) Onomatopoeia
(2) Simile
(3) Hyperbole
(4) Metaphor

The meaning and examples will be clarified as following;
1.Onomatopoeia
Onomatopoeia is a word that uses to communicate by imitating sounds from nature which is animal sound, human sound, the natural phenomenon such as lighting, raining, windy sound, quoted from Dictionary of Royal Thai literature Academy (2017, p.363). The researcher explains Onomatopoeia with examples as follows;

The words of nature imitation by human and animal behaviors
Gub...Gub (sound of a horse stepping)
The interjection implies an imagination of the movement of a horse. It has been used in Thai literature for ages which is suitable to utilize for the comic as well.

Oou...Waah (sound of a baby weeping, or boo hoo)
The interjection implies an imagination of a newborn baby weeping. It has been used in Thai literature for ages which is suitable to utilize for the comic as well.

Hong! Hong! (sound of a dog barking)
The interjection implies an imagination of a dog barking. It has been used in Thai literature for ages which is suitable to utilize for the comic as well.

Ooc..c Oop..p (sound of choking from something)
The interjection implies an image of a human being bloated from food indigestion. It has been used in Thai literature for ages which is suitable to utilize for the comic as well.

The words of nature imitation by natural phenomenon
Kreun Kreun (sound of an incoming natural phenomenon)
The interjection implies an imagination of an earthquake, mountain, storm raining, and heavy sea waves. It has been used in Thai literature for ages which is suitable to utilize for the comic as well.

Zuu (sound of a heavy raining)
The interjection implies an imagination of a variant of the sky and a heavy raining. It has been used in Thai literature for ages which is suitable to utilize for the comic as well.

The Onomatopoeia that is written in the Vessantara Jataka contains the imitation of natural sounds which is the human voice, human or animal action, and natural phenomenon. The utilization of Onomatopoeia access the reader to receive the feeling and perception of the character and situation.

2.Simile
Simile is a comparison of two things by using a conjunction word to connect it together such as like, as same as, as similar as, as… as ..., like… like…, equal to, just like, etc. quoted from Dictionary of Royal Thai literature Academy (2017, p.478). The examples are provided as follows;

“Ms.Pusadee: my son, please don’t leave the country and our citizens then who will look after the country. If you leave, you will be a neglected pasha, the country will be as a deserted honeycomb

King Sonchai: Pusadee, my mother. I need to follow the cultural tradition. Even though mother sees your son as a victory of the country or mother love me as much as all your life, I need to be deployed by them along with the tradition.”
Ohm Ratchavet (1994, p.37)

The conversation above is between King Sonchai and Ms.Pusadee. In the situation, the villagers dispose Vessantara out of the town, but Ms.Pusadee does not want it to happen, hence, she came to talk with him. The Simile is applied in this conversation by using the comparison words such as like, as, as much as.
The comparison of a deserted honeycomb means the human has a town as a living place but need to be stray out of the town and live in the jungle, as same as bees, that they need to build the honeycomb and make honey to survive. If the bees do not live in the honeycomb, it is a deserted honeycomb without life.
The comparison of the son as a victory means son is pride and success for parents which also compare the love for her son as all her life. The usage of Simile influences the reader is deep into the story.

“A villager: so jealous! that old man has such a beautiful wife. She’s as gorgeous as an angel”
Ohm Ratchavet (1994, p.53)

The conversation above stated about the villagers get jealous of the old man that he has a young and beautiful wife. The Simile is applied in this conversation by using the comparison words “as ..adjective.. as”. The sentence sends an information to the reader how gorgeous his wife is it.

“Vessantara: let two of you be as a golden argosy, bring your father across the ocean is the world. The father is crossing the shore to the birth. It will lead humans and angels to cross. Please help me this time”
Ohm Ratchavet (1994, p.72)

The conversation above is between Vessantara and Kanha and Chali (his two sons); in the situation of Chu Chok (an old man priest) asking for his sons (Kanha & Chali) to take care of which is Vessantara. From the story, Vessantara needs to learn how to be a giver which he needs to give his son to Chu Chok with willingness.
The Simile is applied in this conversation by using the conjunction words “as”. The sentence sends an information to the reader how Vessandorn gives one of his hope on his son for his father to succeed the highest of virtue. With the Simile, it accesses the reader feel the way as similar to the characters.


3.Hyperbole
Hyperbole is a word of overexpression to highlight the media, quoted from Dictionary of Royal Thai literature Academy (2017, p.256-257). The example is provided as follows;

“Vessantara: Even though I love my children, I’m devoted to Bodhisatta more 100 to 1000 times”
Ohm Ratchavet (1994, p.75)

This conversation is between Vessantara and Chu Chok. Chu Chok stated about love that he had towards the two children but love towards Bodhisatta is the most worship love which the reader can sense how much love and worship that Vessantara has.

4.Metaphor
Metaphor is a combination of two contradictory but does have something in common or the comparison of an object or a person to something that has a contradictory meaning but understandable, stated from Dictionary of Royal Thai literature Academy (2017, p.319). The examples are provided as follows;

“Kanha: Wahh… my father, please help me. This priest is heartless as a demon, hitting me and my little brother with a wooden stick”
Ohm Ratchavet (1994, p.78)

The conversation above is between Kanha and Vessantara in the situation that the priest, Chu Chok, who asked for his sons to take care of. Chu Chok hit them really hard until their skins had a striped stain. The phrase of Metaphor enhances the heartless of the priest.

According to the study of the Vessantara Jataka comic book, the researcher found that the figure of speech in the comic was suitable for the utilization as well as a comic is an entertaining literature which it does not have only a good content but also aim to make the readers enjoy the story along with the composing word and phrase that the author would like to expose.
Having the figure of speech mostly enhances the reality of the content and allows the children can imagine along the story. On the other hand, the figure of speech could be unreal which attracts the reader interest more on the comic along with the emotional enjoyment and new perception refers to each person imagination.


Conclusion

The result of the study;
The figure of speech, that appeared in the Vessantara Jataka comic, presents the method of utilizing different categories of the figure of speech correctly.
The content of Vessantara Jataka comic book contains the figure of speech more than conversation and description for the content; using
(1) Onomatopoeia, (2) Simile, (3) Hyperbole, and (4) Metaphor in order to add components to encourage the reader to feel, understand and enjoy reading along with having an imaginary creativity and absorb the truly content.
The detailed explanation of the figure of speech, that is found in the Vessantara Jataka comic, as below
(1) Onomatopoeia
Found that there are two sorts of Onomatopoeia which are from the character action and natural phenomenon imitation.

(2) Simile
Found that there is a comparison of the character actions with the conjunctions which are like, as...as…, and as. The Simile was utilized more than the informative content as the objective of the literature is the reading enjoyment.

(3) Hyperbole
Found that the exaggerate word and phase were used to focus on the expression of the character such as love. The author objects to encourage the reader to feel the love expression of the character more obviously.

(4) Metaphor
Found that the comparison was applied by compare the similar word or different meaning to enhance the meaning of the conversation.

However, the comic literature book is consist of an expert author, the method that uses to create a writing, the nice and appealing drawing, the figure of speech that enhance the interesting of the comic, and the informative content that also provides knowledge which is suitable for children and adults. All of above, it makes a good quality literature comic book. It educates the children how to make virtue and also develops their imagination skill. Therefore, the Vessantara Jataka is one of good quality literature comic for children which should be recommended.


Recommendation
1. This is a study of the figure of speech. The researcher has an opinion that the education should provide the study of the language that uses in a comic literature such as how to use the word and phrase from other comic literatures as well.

2. Recording to the analysis of the figure of speech, there are only four were found in the Vessantara Jataka comic. The researcher has an opinion that the study of the figure of speech should be researched in other categories of literature, which is not a Buddhist comic. Hence, other categories of the figure of speech will be studied as well.

3. A research of the children behaviors of reading the comic should be taken as a study in order to know the children motivation of reading to stimulate their attraction for other literature comics.


References

Baanjob Baanruji. (2006). Vessantara, the gallant of Himmapan. (vol.3). BKK: DMG.

Dictionary of Royal Thai Academy. (2011). BKK: Nanmee Book Publication.

Dictionary of Royal Thai literature Academy. (2017). (vol.2) BKK: Arun printing.

Ohm Ratchavet. (1994). Vessantara. BKK: Amarin Printing and Publishing Co., Ltd.

Pairoa Ruengsiri. (1981). The creative writing literature for children. BKK: Aksorn Ja Reoun Tasn.

Phra Maha Boontaan Aanonto. (1997). The analytical study of Vessantara height of generosity. The thesis of Buddhism philosophy, The University of Chulalongkorn.

Suebpong Thammachart. (1999). Jataka Literature. BKK: Odean Store.

Vijrit Vadtagarn Lt. Col. Royal. (1998). Jataka Literature: 10 incarnations of the Buddhist. (vol.3). BKK: Sangsarn Book.

Wilai Thammawaja. (2016). The Literature books for children. BKK: Thai Watana Panich.




English to Thai: last-mile express delivery
General field: Tech/Engineering
Detailed field: Automation & Robotics
Source text - English

three million couriers working in last- mile express delivery in China, and an- other one million couriers working for on-demand delivery services.
The country expects the express delivery industry to increase another 60% by 2020,3 requiring an even greater delivery force. However, the working population in China is aging; its num- bers in steady decline since its peak in 2011 (a situation mainly caused by China’s 40-year-old “one-child policy,” which ended in 2016). This decline is expected to continue for at least an- other decade.
These two conditions have motivat- ed the industry to seek a more efficient delivery solution—the autonomous de- livery vehicle. But there are two dimen- sions of challenge—a profitable busi- ness model, and of course technology.
The Business Model of Autonomous Driving in
Last-Mile Delivery
We have seen two major upgrades to the last-mile delivery business model: the warehouse is getting closer to the end users, and deliveries are merged into “multi-deliveries.”
In traditional logistics, the ware- house is a motionless unit used only for storage. Goods are transported from many other locations and then distrib- uted to the multiple end users. The new express logistics, however, redefines the warehouse concept to be not only storage but also a mobile facility that relocates to serve many more users. Last-mile delivery is one such scenario applied to this “motion warehouse” concept, and the autonomous driving vehicle is one of its core technologies. The concept of motion warehouse is a revolution of logistics, which has com- bined the three major elements of retail business—people, goods, and ware- houses—into the new concept. The warehouse is aware of the needs of peo- ple, and provides the goods selection through the AI based big data analysis. In the new “motion warehouse” model, consumers can get the goods they want more accurately and quickly.
BY HUAXIA XIA/MEITUAN, HAIMING YANG/JD CTO GROUP
Is Last-Mile Delivery
a ‘Killer App’ for Self-Driving Vehicles?
CHINA’S E-COMMERCE BOOM has generated a huge logistics demand, both in terms of express package delivery and on-demand food delivery.a
Chinese express firms delivered an estimated 40 billion parcels in 2017; up 28% from the previous year.2 Indeed, China’s on-demand delivery market exceeded over 30 million food orders daily by yearend 2017.
This growth in delivery services has created a healthy job market, with the number of employees in this sector up 130% from 2014 to 2017, according to the China Federation of Logistics and Purchasing. Last-mile delivery—the movement of goods from
a transportation hub to final destination—has witnessed huge growth. Today there is an estimated
a http://news.iresearch.cn/content/2017/11/271315.shtml/
70 COMMUNICATIONS OF THE ACM | NOVEMBER 2018 | VOL. 61 | NO. 11

This approach extends the supply chain concept from the warehouse all the way to the end users. In a tradi- tional logistic system, the connection is from the preposition warehouse di- rectly to the end users. (A preposition warehouse is one in close proximity to the consumer). It could be an office building, or a small warehouse set up to serve a community that enables user delivery in 1–2 hours. However, with increasing population and demand, the “campus” model is emerging as an efficient way for even better user experience. Campuses’ aggregate de- livery demands are always large so pre- allocation to customers and traditional (human) last-mile delivery is no longer the most efficient. By transporting a large number of packages together be-
fore the are allocated to customers, and delivering passively (users pick up pack- ages at designated location) and proac- tively (carried directly to the end users), both user experience and efficiency are increased. Autonomous vehicles are key to achieving these benefits.
The Technology of Autonomous Driving in Last-Mile Delivery Autonomous driving technology is not ready to replace human drivers in pas- senger vehicles. Many luxury vehicles may be equipped with advanced driver- assistance systems (ADAS)—including emergency braking, backup cameras, adaptive cruise control, and self-park- ing systems—but they are not fully autonomous. According to SAE Inter- national’s levels of vehicle autonomy
as depicted in Figure 1, current ADAS functions mostly hover around levels 1 or 2. Technology is still far from realiz- ing level 4—a truly driverless car.
Two key challenges for fully auton- omous passenger vehicles are trust- worthiness and price. A typical auton- omous passenger vehicle (as shown in Figure 2) is equipped with an array of state-of-the-art sensors and other technologies that can cost hundreds of thousand dollars.1 But even with such expensive equipment, autono- mous vehicles are still far from reli- able in terms of passenger safety. For example, last March a Tesla driver was killed when his car, set in “autopilot mode,” collided with a median barrier on the highway, causing the vehicle to catch fire.
NOVEMBER 2018 | VOL. 61 | NO. 11 | COMMUNICATIONS OF THE ACM 71
IMAGE BY CHESKY

china region big trends
Figure 1. SAE automation levels.
Figure 2. Sensors on a typical autonomous passenger vehicle.
China just issued its first license for self-driving tests last March, and has not yet published any test result data, so we refer to autonomous vehicle dis- engagement reports issued by Califor- nia’s Department of Motor Vehicles in 2017 (and summarized in the accompa- nying table). Waymo’s autonomous car required human assistance every 5,596 miles on average, which is the best among all tested vehicles. By compari- son, a human driver on average has one accident approximately every 165,000 miles. Regulators will require autono- mous cars prove much safer than cur- rent human behavior before drivers are no longer needed behind the wheel. Much more research and engineering efforts, possibly over a decade’s worth, is required to improve autonomous driving technology, including higher- resolution sensors, better algorithms, and faster computing chips.
Last-mile delivery, however, is a solid scenario illustrating how auton- omous-driving technology has been successfully and safely employed. There are a few key differences be- tween a delivery vehicle and a pas- senger vehicle. The last-mile delivery vehicle usually runs slowly, typically 20mph. A slow vehicle requires shorter perception distance, shorter braking distance, and less computing frame rate. Secondly, the last-mile delivery vehicle is typically smaller and lighter than passenger vehicles; this further
Summary of California autonomous vehicle disengagement reports from 2017.
Company
Waymo
GM Cruise Zoox
Baidu
Bosch Mercedes Benz
Autonomous Number miles of disengagements
352545 63 131676 105 2255 14 1979 43 1454 598 1087 652
Miles per disengagement
5596 1254 161 45 2.4 1.7
72 COMMUNICATIONS OF THE ACM | NOVEMBER 2018 | VOL. 61 | NO. 11

decreases the risk of possible damage or harm when an accident happens. Finally, a delivery vehicle is free of passengers, therefore, it has fewer re- quirements for safety, planning, and control algorithms.
There are two major challenges in last-mile delivery, which autonomous driving can help: The distribution lo- cation of the package, and the deliv- ery path. From past experience, when a delivery person arrived on location, the majority of time was spent waiting, especially when the planned delivery consisted of a large number of small packages destined for office build- ings, campuses, and apartments. The waiting time for customers, and the handling time to delivery to custom- ers, killed any efficiency of last-mile delivery. Moreover, the delivery person is paid by the number of packages de- livered, meaning the company often pays a great deal of money for a trip to a single location, which kills any cost ef- ficiency of last-mile delivery.
To be effective, last-mile delivery must determine the best route to dis- pense the most parcels. In a city, the best route is often not the shortest route, and road conditions constantly changed over time. An autonomous driving cart is similar to a larger “self- closing cabinet,” which can save both the average waiting time and the distri- bution time. On the other hand, equip- ment costs increase with the autono- mous approach. Ideally, there would be a cost of only ¥1.5 per autonomous delivery compared with current ¥7–10 per delivery. Achieving this requires reducing costs of trial carts from ¥600,000 to ¥50,000 if the autonomous delivery (and vehicles) are in mass pro- duction.
Autonomous driving vehicles have major technology challenges, too. One obstacle is the behavior of the motion detection system when out in the real world. The algorithm may work perfectly in lab test conditions, but may not perform well when it is on the open road. Another difficulty with these vehicles is the range of vision when driving in dark or shadowing ar- eas. Like the human eye, the range of the vision may vary in different levels of brightness; even with infrared light detection, the vehicle may not “see” in foggy and dusted environments.
How JD Uses the Vehicles in Delivery Scenarios
JD.com is the largest e-commerce plat- form by revenue, and offers a world- class set of online retail services to its legion of users, who now number close to 300 million in total. As a technology- driven company, JD.com has focused considerable effort in developing a ro- bust and scalable retail platform that not only supports the company’s rapid growth but also allows it to provide cut- ting-edge technology and services to its partners and customers.
JD selected last-mile delivery prac- tices as the first line of defense in its campaign to upgrade its logistics infra- structure. JD Logistics’ autonomous de- livery vehicles will primarily be used for last-mile delivery in urban areas, carry- ing packages from dedicated stations to office buildings, pick-up stations, resi- dential area convenience stores, and other locations. It was first used to sup- port JD.com’s renowned two-hour ex- press delivery service and will be rolled
out across JD’s deliver network to be used for a wider range of applications. Autonomous driving vehicles will be loaded at delivery stations and will travel to pick-up points designated in advance by consumers. The recipient can collect the products they order simply by press- ing a button on JD’s mobile app. JD’s delivery vehicle can also recognize the customer using face identification and deliver the product accordingly.
JD conducted its first trial in auton- omous driving vehicles for last-mile de- livery on June 18, 2017 at Renmin Uni- versity, Beijing. The vehicle delivered about 10 packages in approximately six hours. JD subsequently deployed approximately 60 autonomous driving vehicles for last-mile delivery at Bei- jing, Xian, and Hangzhou for pilot AI- based package delivery. The city of Xian has been selected as the headquarters for JD’s fleet of vehicles. In December 2017, JD Group CEO Qiangdong Liu an- nounced last-mile parcel delivery plans for 100 universities.
Figure 3. The deployment progress of JD’s autonomous driving vehicle.
Figure 4. The use cases of the JD autonomous driving vehicle.
big trends china region
NOVEMBER 2018 | VOL. 61 | NO. 11 | COMMUNICATIONS OF THE ACM 73

china region
big trends
To be effective, last-mile delivery must determine the best route to dispense the most parcels. In a city, the best route
is often not the shortest route, and road conditions constantly change over time.
As Figure 3 illustrates, the autono- mous driving vehicles have been de- ployed and well tested in Beijing, Xian, and Hangzhou. Cities recently added include Tianjin, Guangzhou, Shang- hai, Shenzhen, Changsha, Chengdu, Wuhan, and Suqian. User scenarios have also expanded from university campuses, to village areas, municipal areas, as well as industrial and institu- tional parks. Due to this wider reach, operations centers will be setup in Bei- jing to serve the north, and Changsha to serve the south.
However, there are still many chal- lenges for future fleet expansion; for example, deployment is currently not available to truly open, more rural en- vironments and human interaction is still required to periodically adjust the autonomous driving path. In addition, the effort to build a fully autonomous driving vehicle network is heavily de- pended on how the technology evolves, moving from cloud computing to edge computing, the capability of sensor networks, and the level of intelligence in artificial intelligence. Moreover, laws and regulations covering autono- mous vehicles on the open road can vary dramatically.
There are many pilot deployments extending the last-mile delivery pro- grams, and as a result many custom- ized last-mile delivery vehicles have joined the general-purpose fleet, such as the smart shopping cart to enhance the supermarket shopping experience; an model used for data- center inspections; moving demo cen- ter vehicles used at conferences, and so on. As shown in Figure 4, JD does not intend to solve all the technology, business, and regulation limitations
of these vehicles; instead, the focus is on carefully designing user scenarios that best fit the strengths of the cur- rent technology.
Last June, JD’s autonomous driv- ing vehicles hit the open road in Bei- jing’s Haidian District (Figure 5). These courier robotic vehicles can perform 360-degree environmental monitoring, automatically avoid roadblocks and pe- destrians, and can react to traffic lights. It can independently stop at a distribu- tion point, send delivery information to the user, and the user can pick up the packages through face recognition, in- put code, or clicking on the JD app link from their mobile phone. The vehicle can store up to 30 containers, and can travel 15k/h. As a result, last-mile deliv- eries can upgrade from 100–200 orders a day, to 1,000 orders per day.
Production difficulties still persist: the fault tolerance of the object recog- nition technology, the business pro- cessing for package returns from the end user to the warehouse, and the reli- ability of the vehicle (especially round- ing corners) are three major challenges that must be resolved. In the early pro- duction period, human interaction may still be necessary. However, we
Figure 5. A JD courier robot on a road in Haidian District, Beijing.
74 COMMUNICATIONS OF THE ACM | NOVEMBER 2018 | VOL. 61 | NO. 11
Figure 6. Diagram of an on-demand delivery for Meituan’s autonomous vehicle.

believe when more road test data is ac- cumulated and analyzed, the accuracy and efficiency of these vehicles will be fully achieved.
How Meituan Uses the Vehicles
in Delivery Scenarios
Meituan is the world’s largest e-com- merce platform for local services. Meituan’s service covers over 200 cate- gories, including catering, on-demand delivery, car sharing, bicycle sharing, hotel and travel, movie, entertainment and lifestyle, and spreads over 2,800 counties, districts, and cities in China. In 2017, Meituan served 310 million ac- tive consumers and 4.37 million active merchants on the platform.
One of Meituan’s services is its on-demand food delivery known as Meituan Waimai. By May 2018, Meitu- an Waimai was delivering 21 million orders per day and had hired 600,000 food-delivery riders. The service is usu- ally within three kilometers, with tight time limits of 30 minutes. The fulfill- ment process includes three phases: 1. The courier goes to the restaurant to pick up the food, usually by walking through a shopping mall to get to the restaurant; 2. The courier transports the food next to consumer’s building; 3. The courier walks or takes an elevator to the consumer (See Figure 6). In prac- tice, each phase takes approximately one-third of the total delivery time.
Different phases need different types of vehicles. In phase 1 and phase 3, we use an indoor robot, as shown in Figure 7. This robot is 0.5m by 0.8m; its small size allows for easy entrance to shopping malls and office buildings. It does localization based on WiFi finger- print and vision SLAM. It can also com- municate through Zigbee to an eleva- tor control module, thus can go up and down the buildings. The robot receives order information from the cloud scheduling system, runs to the mer- chant following the scheduled route, opens the top cover automatically so the merchant can put the food inside. When approaching its destination, the robot sends a text message to the user’s mobile app, and then the user can pick up the food using the password code included in the text message.
In phase 2, a larger and faster auton- omous delivery vehicle is used for street transportation, as shown in Figure 8.
Figure 7. Meituan’s indoor delivery robot.
Figure 8. Meituan’s outdoor delivery vehicle.
The vehicle measures one-meter wide and two-meters long, with maximum speed of 40km/h and maximum load of 10 orders. It uses the same technology as an autonomous passenger vehicle, including lidar, camera, and GNSS re- ceiver. It can detect pedestrians, bicy- cles, automobiles, and other obstacles, and can also react to traffic lights.
Challenges and Opportunities
There are many challenges for the large-scale deployment of autonomous delivery vehicles: The technology is not mature yet, the entire ecosystem must be further developed to make it more reliable, and the costs much shrink.
Moreover, our living infrastructure is not yet ready for autonomous driv- ing. Many communities have locked or gated entrances, which require manual operation using a key or access card. Many buildings have revolving or swing doors, which are easy for humans to use but very difficult for robots. Elevators are rarely robot-ready. In fact, we must talk to building owners to get a permit to install a communication module in every elevator. These frustrations must be handled before we can fully enjoy autonomous vehicle deployment.
Government regulation of autono- mous vehicle is a critical concern. While these delivery vehicles run at a fairly slow speed, most regulators
consider “slow” a grey area, fitting be- tween high-speed passenger vehicles and bicycles. Government regulations are not ready to handle pure level 4 (driver-free) vehicles like autonomous delivery vehicles. What happens if the autonomous vehicle is involved in an accident or a traffic violation? Who is responsible? Closed environments such as common in last-mile deliv- ery can be used as pilot scenarios for learning that enable more complex, open road scenarios. This suggests two autonomous driving vehicles de- velopment methodologies: find a kill- er-level use case to drive the business model; or find the best technology and build the ecosystem.
Fortunately, this somewhat imma- ture technology is acceptable for slow- speed delivery vehicles. The lack of infrastructure support may prevent us from mass deployment in some situa- tions, but there are still many suitable scenarios for first-stage deployment. As for government regulation, the Chi- nese government is among the most supportive for high-tech innovations like autonomous vehicles.
The Future of Autonomous Delivery Vehicles
China’s e-commerce boom brings a huge volume of logistics demand, both for express package delivery and for on-demand food delivery. The last-mile delivery is a perfect use case for auton- omous driving technology.
Large-scale deployment of autono- mous vehicles still depends on technol- ogy maturity and governing regulations. Nevertheless, these issues are not show- stoppers. There are many pilot scenar- ios with government support, helping the industry step into the water of au- tonomous driving in order to accumu- late the data and real-world experience needed to improve its technology.
References
1. Levine, S. What it really costs to turn a car into a self- driving vehicle; https://qz.com/924212, 2017.
2. Xinhua News. Chinese express firms deliver over 40 bln parcels in 2017, 2018; https://bit.ly/2QnioCi
3. Xinhua News. China’s express delivery sector prepares for post-holiday bonanza, 2018; http://www.xinhuanet. com/english/2018-02/24/c 136996545.htm.
Huaxia Xia is Scientist and General Manager of the Autonomous Delivery Department at Meituan, Beijing.
Haiming Yang is Chief Architect at JD CTO Group, Beijing. Copyright held by owners/authors.
big trends china region
Publication rights licensed to ACM. $15.00..
NOVEMBER 2018 | VOL. 61 | NO. 11 | COMMUNICATIONS OF THE ACM 75
Translation - Thai
Last-Mile Delivery (บริการจัดส่งสินค้าในช่วงสุดท้าย) คือคู่แข่งตัวฉกาจของ Self-Driving Vehicles (เทคโนโลยียานพาหนะไร้คนขับ) ?
การค้าขายออนไลน์ในประเทศจีนได้เพิ่มอัตราการขนส่งขนาดใหญ่ทั้งการขนส่งพัสดุแบบเร่งด่วนและการขนส่งอาหารเดลิเวอรี่ ในปี ค.ศ. 2017 บริษัทขนส่งในประเทศจีนได้ทำการขนส่งพัสดุ 40 พันล้านชิ้น ซึ่งมากกว่าปีที่ผ่านมา 28% โดยประมาณ ทั้งนี้ในปี ค.ศ. 2017การขนส่งอาหารออนไลน์แบบเดลิเวอรี่ในประเทศจีนได้ทะลุยอดถึง 30 ล้านออเดอร์ต่อวัน
การเจริญเติบโตของบริการขนส่งเดลิเวอรี่ทำให้ตลาดเศรษฐกิจดีขึ้นอย่างมากจากจำนวนอัตราการจ้างงานเพิ่มขึ้นมากถึง 130% จากปี ค.ศ. 2014 - 2017 อ้างอิงข้อมูลจากสหพันธ์โลจิสติกส์และการจัดซื้อของจีน Last-mile delivery หรือ การให้บริการจัดส่งสินค้าในช่วงสุดท้าย หมายถึง การขนส่งสินค้าจากศูนย์กลางรวมสินค้าไปยังสถานที่ปลายทางสุดท้ายซึ่งการให้บริการดังกล่าวได้เจริญเติบโตขึ้นมาก ณ ปัจจุบันได้มีบริการจัดส่งสินค้าแบบ Last-mile delivery โดยปริมาณ 3 ล้านแห่ง และ มีบริการจัดส่งสินค้าแบบ on-demand delivery โดยปริมาณ 1 ล้านแห่งในประเทศจีน
ประเทศจีนคาดหวังให้อุตสาหกรรมการขนส่งแบบเร่งรีบเพิ่มขึ้น 60% ภายในปี ค.ศ. 2020 โดยต้องอาศัยแรงผลักดันจากบริษัทขนส่งมากขึ้นอีกเท่าตัว อย่างไรก็ตามจำนวนประชากรวัยทำงานในประเทศจีนกำลังถดถอยลง สืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ปี 2011 เนื่องจากรัฐบาลจีนได้ออกกฎหมายให้แต่ละครอบครัวมีลูกได้เพียงหนึ่งคน ซึ่งกฎหมายนี้ได้ยกเลิกภายในปี 2016 แต่จำนวนตัวเลขที่ลดลงก็คาดว่ายังคงจะถอยลงจนถึงอย่างน้อยอีกสิบปีข้างหน้า
โดยสองเงื่อนไขที่ถูกกล่าวมานี้กระตุ้นให้อุตสาหกรรมขนส่งเสาะหาวิธีบริการด้านขนส่งให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น นั่นก็คือ ยานพาหนะที่สามารถขับเคลื่อนด้วยตนเอง ซึ่งทำให้อุตสาหกรรมมีสิ่งที่ต้องท้าทายอยู่สองสิ่งนั้นก็คือ รูปแบบธุรกิจที่สามารถทำกำไรได้ และแน่นอน เรื่องของเทคโนโลยี

รูปแบบธุรกิจของระบบขนส่งโดยยานพาหนะเคลื่อนที่อัตโนมัติไร้คนขับ
เราได้เห็นการพัฒนาที่ก้าวไกลสองสิ่งหลักๆ ของการให้บริการจัดส่งสินค้าในช่วงสุดท้าย นั่นก็คือเส้นระหว่างผู้ซื้อและศูนย์กลางสินค้าที่อยู่ใกล้กันมากขึ้นรวมถึงการขนส่งที่มีหลากหลายรูปแบบ



ในการขนส่งแบบดั้งเดิม โกดังเก็บของไม่ได้มีบทบาทอะไรนอกจากเอาไว้เก็บคลังสินค้า ตัวสินค้าจะถูกขนส่งจากหลายๆ แห่ง เพื่อนำมารวมไว้ที่จุดกระจายสินค้าและนำส่งต่อ end user หรือผู้ใช้ปลายทาง ในการขนส่งสมัยใหม่ ได้เปลี่ยนคำจำกัดความของโกดังเก็บของ คลังสินค้าไม่ใช่แค่เพียงสถานที่เก็บสินค้า แต่ยังเป็นสถานที่ที่สามารถอำนวยความสะดวกเคลื่อนที่เพื่อให้บริการผู้ใช้ที่มีจำนวนมากขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Last-mile delivery เป็นอีกหนึ่งเคสที่ถูกยกไปใช้ในความคิดของ motion warehouse หรือคลังสินค้าเคลื่อนที่ อนึ่งยานพาหานะขนส่งเคลื่อนที่อัตโนมัติก็ถือว่าเป็นแก่นของเทคโนโลยีเลยทีเดียว คอนเซปต์คลังสินค้าเคลื่อนที่เป็นวิวัฒนาการขั้นใหม่ของธุรกิจการขนส่ง เสมือนรวบรวม ผู้คน สินค้า และ คลังสินค้า ที่เป็นองค์ประกอบหลักของธุรกิจขายปลีกมาอยู่ในกรอบความคิดใหม่นี้ไว้ด้วยกัน โดยในส่วนของคลังสินค้านั้นต้องคอยตระหนักถึงความต้องการของผู้ซื้อรวมถึงตระเตรียมตัวเลือกของสินค้าผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลระบบ AI ต่างๆ ซึ่งคลังสินค้าเคลื่อนที่รูปแบบใหม่นี้ ผู้บริโภคสามารถที่จะเลือกซื้อสินค้าที่เขาต้องการได้อย่างแม่นยำและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น














วิธีนี้จะขยายแนวคิดห่วงโซ่อุปทานของกระบวนการต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นจากคลังสินค้าไปยังผู้ใช้ปลายทาง ในระบบการขนส่งแบบดั้งเดิม การขนส่งจะเดินทางมาจากคลังสินค้า (ที่อยู่ใกล้กับผู้ใช้ปลายทางมากที่สุด) โดยตรงกับผู้ใช้ปลายทาง ซึ่งสถานที่ของคลังสินค้าอาจจะเป็นออฟฟิศบนตึกสูง หรือ คลังสินค้าเล็กๆ ที่ถูกจัดเตรียมไว้สำหรับส่งให้กับผู้ใช้ปลายที่สามารถส่งถึงได้ภายใน 1 - 2 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามเมื่อมีจำนวนประชากรและอุปสงค์ที่มากขึ้น Campus โมเดลได้ถูกนำมาใช้ในแนวทางที่มีประสิทธิภาพการใช้งานที่ดียิ่งขึ้น ปริมาณอุปสงค์ในการจัดส่งเดลิเวอรี่ของระบบ Campus มักจะมีขนาดใหญ่ดังนั้นจึงมีการจัดสรรล่วงหน้าให้กับลูกค้าที่มอบความแม่นยำและสะดวกสบายโดยไม่ต้องพึ่งพามนุษย์ ทำให้การจัดส่งรูปแบบ last-mile delivery แบบดั้งเดิม (ใช้แรงงานคน) ก็อาจไม่ใช่ทางเลือกที่มีประสิทธิภาพที่ดีที่สุดอีกต่อไป โดยขั้นตอนนั้นเริ่มจากการขนย้ายสินค้าจำนวนมากมาเก็บไว้อยู่ที่เดียวกัน ก่อนที่จะถูกคัดแยกและขนส่งไปให้ลูกค้า (ลูกค้ารับสินค้าจากสถานที่ที่ระบุไว้) โดยสามารถควบคุมได้ (ทำการขนส่งพัสดุถึงผู้ใช้ปลายทางโดยตรง) ทำให้ทั้งประสบการณ์ของผู้ใช้และมีประสิทธิภาพของการขนส่งเพิ่มขึ้น ซึ่งกุญแจหลักของการบรรลุผลเหล่านี้ก็คือ ยานพาหนะเคลื่อนที่อัตโนมัติ

เทคโนโลยียานพาหนะไร้คนขับในอุตสาหกรรมการจัดส่งสินค้าในช่วงสุดท้าย
เทคโนโลยียานพาหนะไร้คนขับในปัจจุบันนี้ยังไม่พร้อมที่จะนำเข้ามาใช้แทนที่รถโดยสารที่ใช้การขับเคลื่อนโดยมนุษย์ได้ แม้ว่ายานพาหนะหรูหราแบรนด์เนมจะถูกติดตั้งมาด้วยระบบอุปกรณ์ความช่วยเหลือต่างๆ (ADAS) เช่น เบรกฉุกเฉิน กล้องมองหลัง ระบบที่ช่วยควบคุมความเร็วในการขับขี่ และ ระบบจอดรถด้วยตัวเอง แต่ก็ระบบคอมพิวเตอร์ก็ยังไม่ได้ควบคุมด้วยตนเองอย่างเต็มกำลัง จากข้อมูลระดับอิสรภาพของยานพาหนะโดยสากลที่อ้างอิงจากสมาคมวิศวกรยานยนต์ กล่าวถึงฟังก์ชัน ADAS (อ้างอิงจาก รูปภาพที่ 1) ว่าอยู่ในระดับ 1 หรือ 2 เท่านั้น เทคโนโลยีในปัจจุบันยังไกลจากระดับ 4 อยู่มาก (ระดับที่ไร้คนขับ)
สิ่งที่ท้าทายอยู่สองสิ่งสำหรับยานพาหนะไร้คนขับคือความน่าเชื่อถือไว้วางใจได้ และ ราคา ยานพาหนะไร้คนขับทั่วไปส่วนใหญ่จะถูกติดตั้งด้วยแถบเซนเซอร์ที่ล้ำสมัยและเทคโนโลยีอื่น ๆ (อ้างอิงจาก รูปภาพที่ 2) ซึ่งสามารถมีค่าใช้จ่ายสูงมากถึงหลักแสนดอลลาร์สหรัฐ แต่ถึงแม้จะถูกสร้างด้วยอุปกรณ์ชิ้นส่วนที่ราคาแพง ยานพาหนะแบบไร้คนขับก็ยังห่างไกลจากความน่าเชื่อถืออยู่มากโดยเฉพาะในเรื่องของความปลอดภัยของผู้โดยสาร ยกตัวอย่างเหตุการณ์ในเดือนมีนาคมที่ผ่านมา คนทดลองขับของบริษัท Tesla ได้เสียชีวิตลงขณะรถที่ทดลองขับถูกตั้งในโหมด autopilot “ขับเคลื่อนโดยอัตโนมัติ” ซึ่งตัวรถได้ชนเข้ากับกำแพงบนทางด่วนทำให้เกิดเพลิงไหม้ตัวรถ





ประเทศจีนเพิ่งออกใบอนุญาตใบแรกสำหรับการทดสอบขับเคลื่อนด้วยตนเองเมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมาและยังไม่ได้เผยแพร่ข้อมูลผลการทดสอบใดๆ ดังนั้นเราจึงอ้างอิงถึงรายงานการปลดระวางรถยนต์ไร้คนขับซึ่งออกโดยกรมยานยนต์แคลิฟอร์เนียในปี ค.ศ. 2017 (และสรุปไว้ในตารางประกอบ)
รถยนต์ไร้คนขับของบริษัท Waymo จำเป็นต้องใช้กำลังคนเพื่อช่วยเหลือในการขับขี่ตลอดทุกๆ 5,596 ไมล์โดยเฉลี่ย ซึ่งถือว่าเป็นการทดสอบที่มีสถิติที่ดีมากที่สุดในบันดาลบริษัทที่มีการทดสอบทั้งหมด เมื่อลองเปรียบเทียบแล้ว การขับขี่โดยมีคนขับโดยเฉลี่ยจะมีการเกิดอุบัติเหตุหนึ่งรอบทุกๆ การขับขี่ 165,000 ไมล์ รถยนต์ไร้คนขับจะต้องสามารถพิสูจน์ได้ว่าปลอดภัยกว่าพฤติกรรมการขับขี่ของมนุษย์ในปัจจุบันก่อนที่จะปลดไม่ให้มีคนขับหรือคอยอยู่หลังพวงมาลัยอีกต่อไป การวิจัยและความพยายามด้านวิศวกรรมที่เพิ่มมากขึ้น ก็คุ้มค่าที่จะใช้เวลาเป็นทศวรรษเพื่อปรับปรุงเทคโนโลยีการขับขี่แบบอัตโนมัติรวมถึงตัวเซนเซอร์ที่มีความละเอียดสูงกว่าเดิม ขั้นตอนกรรมวิธีที่ดีกว่า และชิปประมวลผลที่เร็วกว่าเดิม
อย่างไรก็ตาม การบริการขนส่งสินค้าในช่วงสุดท้ายก็ยังเป็นสถานการณ์ที่แสดงให้เห็นถึงเทคโนโลยียานพาหนะเคลื่อนที่โดยอิสระได้ถูกนำมาใช้ได้อย่างประสบความสำเร็จและปลอดภัย ทั้งนี้มันมีข้อแตกต่างสำคัญๆ ระหว่างยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งสินค้า และ ที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร โดยรถยนต์ที่ใช้ในการขนส่งสินค้าจะเคลื่อนที่อย่างช้าๆ โดยปกติ 20 ไมล์/ชั่วโมง รถยนต์ที่ใช้ในการขนส่งสินค้า เป็นรถยนต์ที่ใช้เวลาเดินทางน้อย ต้องใช้ฐานข้อมูลเพียงระยะทางสั้น ๆ ระยะเบรกที่สั้น และอัตราเฟรมคอมพิวเตอร์ที่น้อยกว่า โดยส่วนมากจะเป็นคันเล็กกะทัดรัด น้ำหนักเบากว่ารถยนต์ที่ขนส่งผู้โดยสาร

ซึ่งทำให้ลดความเสี่ยงของความเสียหายและอันตรายที่สามารถเกิดขึ้นได้เมื่อมีอุบัติเหตุเกิดขึ้น และการขนส่งสินค้าก็ปราศจากผู้โดยสารซึ่งต้องการอุปกรณ์รักษาความปลอดภัยน้อยกว่า การวางแผนที่สั้นกว่า และวิถีทางที่ควบคุมได้มากกว่า
สิ่งที่รถยนต์ไร้คนขับสามารถเข้ามาช่วยเหลือการขนส่งสินค้าได้นั้น ก็คือ พื้นที่กระจายสินค้า และ เส้นทางขนส่ง จากเหตุการณ์ที่ผ่านมาเมื่อคนส่งของถึงสถานที่จัดส่งแล้วก็มักจะเสียเวลาไปกับการรอโดยเฉพาะการส่งครั้งนั้นมีจำนวนพัสดุที่มากเช่น พัสดุที่ส่งไปที่สำนักงาน มหาวิทยาลัย หรือ สถานที่พักอาศัยอพาร์ทเมนท์ การที่ปล่อยให้ลูกค้ารอเป็นเวลานานทำให้ลดประสิทธิภาพของการขนส่งแบบเร่งด่วนลดลง นอกจากนี้ผู้ส่งมอบจะได้รับเงินตามจำนวนของพัสดุที่ส่งมอบซึ่งหมายความว่า บริษัทมักจ่ายเงินเป็นจำนวนมากสำหรับการเดินทางไปยังที่เดียวซึ่งลดประสิทธิภาพในด้านต้นทุนของการจัดส่งสินค้าแบบเร่งด่วนอีกด้วย
เพื่อให้มีประสิทธิภาพการขนส่งสินค้าแบบเร่งด่วนต้องเป็นตัวกำหนดเส้นทางที่ดีที่สุดในการแจกจ่ายพัสดุ เส้นทางในเมืองที่ดีที่สุดมักจะไม่ใช่เส้นทางที่มีระยะทางสั้นแต่ทางไหนจะดีที่สุดก็ขึ้นอยู่กับสภาพการจราจรที่มักจะเปลี่ยนไปเปลี่ยนมาอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นรถที่ใช้ระบบการขับขี่แบบอัตโนมัติก็เปรียบเทียบคล้ายกับ "ตู้ที่มาสามารถปิดด้วยตัวเอง" ที่มีขนาดใหญ่ซึ่งสามารถประหยัดทั้งเวลารอโดยเฉลี่ยรวมถึงระยะเวลาในการแจกจ่ายสินค้าอีกด้วย ในทางกลับกันราคาต้นทุนของอุปกรณ์การผลิตอาจเพิ่มขึ้น แต่การขนส่งโดยรถยนต์แบบไร้คนขับมีค่าใช้จ่ายเพียง 1.5 เยน ต่อ การขนส่งสินค้าหนึ่งครั้งเท่านั้นเหมือนเทียบกันการขนส่งรูปแบบปัจจุบันที่ใช้คนขับซึ่งมีค่าใช้จ่ายประมาณ 7 - 10 เยน ต่อ หนึ่งการขนส่ง เพื่อที่จะประสบความสำเร็จนี้ จำเป็นจะต้องลดค่าใช้จ่ายของรถตัวทดลองจาก 600,000 เยนถึง 50,000 เยน หากการขนส่งสินค้าแบบอิสระ (และยานพาหนะ) อยู่ในการผลิตเป็นจำนวนมาก
รถยนต์ที่ขับขี่อิสระมีข้อที่ต้องเอาชนะเทคโนโลยีที่สำคัญด้วยเช่นกัน อุปสรรคนั้นคือระบบตรวจจับการเคลื่อนไหวเมื่ออยู่บนท้องถนนของจริง ระบบประมวลผลอาจทำงานได้ดีในการทดสอบในห้องแล็บ แต่อาจทำงานได้ไม่ดีเมื่ออยู่บนถนนที่เปิดโล่ง ความยากลำบากอีกอย่างหนึ่งกับยานพาหนะเหล่านี้คือช่วงของการมองเห็นเมื่อขับรถในบริเวณที่มืดหรือสลัวๆ เช่นเดียวกันกับการมองเห็นของมนุษย์ที่มีระดับแตกต่างในการรับแสง ยานพาหนะอาจไม่สามารถเห็นวิสัยทัศน์ที่มีหมอกควันหรือฝุ่นมากๆ ได้


JD ใช้ยานพาหนะในการจำลองเหตุการณ์การขนส่งสินค้าอย่างไร
JD.com เป็นบริษัทอีคอมเมิร์ซที่ใหญ่ที่สุดโดยรายได้และมีชุดบริการค้าปลีกออนไลน์ระดับโลกแก่กลุ่มผู้ใช้ค้าปลีกส่งต่อให้แก่กลุ่มผู้ใช้สินค้าซึ่งมีจำนวนมากถึง 300 ล้านรายโดยรวม เนื่องจากเป็นบริษัทที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี JD.com มุ่งมั่นพยายามอย่างมากในการพัฒนาแพลตฟอร์มค้าปลีกที่แข็งแกร่งและยืดหยุ่น ซึ่งไม่เพียงแต่สนับสนุนการเติบโตอย่างรวดเร็วของบริษัทเท่านั้น แต่ยังช่วยให้สามารถให้บริการด้านเทคโนโลยีและบริการที่ทันสมัยแก่คู่ค้าและลูกค้าได้พร้อมๆ กัน
JD เลือกที่จะประกอบการขนส่งสินค้าแบบ last-mile เดลิเวอรี่เป็นบรรทัดฐานแรกของการป้องกันแคมเปญปรับโครงสร้างพื้นฐานด้านลอจิสติกส์ ยานพาหนะขนส่งเคลื่อนที่โดยอิสระของ JD ลอจิสติกส์จะใช้สำหรับการบริการขนส่งแบบเร่งด่วนในเขตเมืองชนบท ดำเนินการขนส่งบรรจุภัณฑ์จากสถานีเฉพาะไปยังอาคารสำนักงาน สถานีรับสินค้าต่างๆ ร้านค้าสะดวกซื้อตามที่อยู่อาศัย และที่อื่น ๆ :ซึ่งเป็นที่แรกที่ใช้เพื่อสนับสนุนการให้บริการจัดส่งสินค้าเร่งด่วนภายในสองชั่วโมง ซึ่งเป็นบริการที่ทราบกันดีภายใต้ JD.com และจะเปิดตัวในเครือข่ายการจัดส่งสินค้าของ JD เพื่อใช้งานได้หลากหลายขึ้น ยานพาหนะขับขี่อัตโนมัติจะถูกโหลดที่สถานีจัดส่งและจะเดินทางไปยังจุดรับของที่กำหนดล่วงหน้าโดยผู้รับสินค้า โดยผู้รับสามารถเก็บรวบรวมผลิตภัณฑ์ที่สั่งซื้อได้ง่ายๆ เพียงกดปุ่มบนแอปพลิเคชันของ JD บนอุปกรณ์มือถือ รถขนส่งสินค้าของ JD จะสามารถจดจำลูกค้าโดยใช้การระบุใบหน้า (face recognize) และส่งมอบสินค้าได้อย่างแม่นยำ
JD ดำเนินการทดลองยานพาหนะที่ใช้ยานพาหนะเคลื่อนที่อิสระเพื่อขนส่งสินค้าเร่งด่วนครั้งแรกในวันที่ 18 มิถุนายน 2017 ณ มหาวิทยาลัยเรนมิน เมืองปักกิ่ง รถขนส่งสินค้าประมาณ 10 แพคเกจในเวลาประมาณ 6 ชั่วโมง ต่อมา JD ได้ติดตั้งรถขับเคลื่อนอิสระเพิ่มจำนวนประมาณ 60 คันเพื่อขนส่งสินค้าเร่งด่วน ณ ปักกิ่ง เซียง และหางโจว สำหรับการจัดส่งพัสดุไปรษณีย์ระบบ AI นำร่อง เมืองซีอานได้รับเลือกให้เป็นสำนักงานใหญ่ของกองยานพาหนะของบริษัท JD ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2017 CEO ของบริษัท JD Group นามว่า Qiangdong Liu ได้ประกาศแผนการบริการขนส่งพัสดุเร่งด่วนสำหรับมหาวิทยาลัย 100 แห่งด้วยกัน




เพื่อให้การขนส่งสินค้าแบบเร่งด่วนมีประสิทธิภาพต้องมีตัวกำหนดเส้นทางที่ดีที่สุดในการแจกจ่ายพัสดุ เส้นทางในเมืองที่ดีที่สุดมักจะไม่ใช่เส้นทางที่มีระยะทางสั้น แต่ล้วนขึ้นอยู่กับสภาพจราจรที่มักจะเปลี่ยนไปเปลี่ยนมาอยู่ตลอดเวลา

จากรูปภาพที่ 3 อ้างอิงเรื่องของรถขับเคลื่อนอิสระได้นำมาปรับใช้ในเมืองปักกิ่ง เซียง และหางโจวแล้วซึ่งก็ได้ผลลัพธ์ที่ดี และมีเมืองที่เพิ่งเพิ่มเข้ามา ได้แก่ เทียนจิน กวางโจว เซียงไฮ้ เซินเจิ้น ฉางชา เฉิงตู หวู่ฮั่น และซูเชี่ยน นอกจากเมืองที่เพิ่มขึ้น ผู้ใช้บริการก็ขยายขึ้นจากมหาวิทยาลัยไปสู่ละแวกหมู่บ้าน แทบในเมือง รวมถึงพื้นที่อุตสาหกรรมและสวนสาธารณะ เนื่องจากมีการเข้าถึงกว้างขึ้นนี้ศูนย์ปฏิบัติการจะถูกติดตั้งในปักกิ่งเพื่อให้บริการลูกค้าโซนฝั่งทางเหนือของจีน และอีกหนึ่งศูนย์ติดตั้งที่ฉางชาเพื่อให้บริการทางใต้ของจีน อย่างไรก็ตามมันก็ยังมีอุปสรรคของการขยายฐานที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต ยกตัวอย่างเช่น การใช้งานในขณะนี้นั้นยังไม่สามารถใช้งานได้กับสภาพแวดล้อมแบบชนบทที่เปิดกว้างมากขึ้นรวมถึงการรับรู้ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์จึงจำเป็นต้องมีการปรับเส้นทางการขับขี่แบบอัตโนมัติเป็นระยะ ๆ นอกจากนี้ในการสร้างเครือข่ายยานพาหนะไร้คนขับส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับวิวัฒนาการของเทคโนโลยี เปลี่ยนจาก cloud computing เป็น edge computing ประสิทธิภาพการใช้งานของตัวเซนเซอร์ และระดับความเชี่ยวชาญการประดิษฐ์ มากไปกว่านี้เรื่องของกฎระเบียบและกฎหมายหลากหลายที่จะเข้ามารองรับยานพาหนะไร้คนขับได้วิ่งบนท้องถนนอย่างอิสระ ณ ปัจจุบัน มีการปรับใช้การบริการขนส่งแบบเร่งด่วนจำนวนมากและเป็นผลให้รถที่จำการจัดส่งสินค้าหลายแห่งได้เข้าร่วมด้วย เช่น รถเข็นสินค้าอัจฉริยะเพื่อเพิ่มประสบการณ์การจับจ่ายในซูเปอร์มาร์เก็ต ใช้เป็นแบบจำลองที่ใช้สำหรับการตรวจสอบข้อมูล แล้วจึงขยายรถเข็นจากศูนย์สาธิต ในรูปภาพที่ 4 JD ไม่ได้มุ่งเน้นที่จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ธุรกิจ และข้อบังคับทั้งหมดของยานพาหนะเหล่านี้ ในทางกลับกัน JD กลับให้ความสนใจกับการจำลองเหตุการณ์ของผู้ใช้ที่สมดุลกับจุดเด่นของเทคโนโลยีในปัจจุบัน ในเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา รถยนต์เคลื่อนที่ไร้คนขับของ JD ได้เปิดตัวบนถนน ณ กรุงปักกิ่ง เขต ไฮเดียน (ตามรูปภาพที่ 5) ซึ่งตัวยานพาหนะขนส่งเหล่านี้สามารถเห็นวิสัยทัศน์ได้ถึง 360 องศา รวมถึงยังสามารถหลีกเลี่ยงทางเดินเท้าและแยกแยะไฟจราจรออกอีกด้วย ตัวรถยนต์นี้สามารถที่จะหยุดจอดด้วยตัวของมันเองเมื่อเวลาถึงจุดกระจายพัสดุ แถมยังส่งข้อมูลการขนส่งให้กับผู้ใช้ได้อีกด้วย ในส่วนของการรับสินค้าก็สามารถใช้ระบบจดจำใบหน้า การใส่โค้ด หรือกดปุ่มรับของในแอปพลิเคชันของ JD ได้อีกด้วย โดยตัวยานพาหนะตัวนี้สามารถเก็บพัสดุภายในตัวรถได้มากขึ้น 30 ชิ้น และเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ดังนั้นการบริการขนส่งแบบเร่งด่วนสามารถเพิ่มยอดได้มากถึง 100 - 200 รายการ หรือมากสุดๆ ถึง 1,000 รายการต่อหนึ่งวันเลยทีเดียว แต่ความยากลำบากในการผลิตยังคงมีอยู่ เช่น การผิดพลาดของเทคโนโลยีการจดจำวัตถุ การประมวลผลสำหรับการส่งคืนสินค้าจากผู้ใช้ปลายทางไปยังคลังสินค้า และความน่าเชื่อถือของยานพาหนะ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่เป็นมุม) เป็นอุปสรรคหลัก ๆ สามข้อที่ยังต้องได้รับการแก้ไขปรับปรุง ดังนั้นในช่วงระยะเริ่มต้นการช่วยเหลือจากมนุษย์จึงมีความจำเป็นอยู่






อย่างไรก็ตาม เราก็ยังเชื่อว่าหากมีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลการทดสอบทางถนนมากขึ้นความแม่นยำและประสิทธิภาพของยานพาหนะเหล่านี้จะประสบความสำเร็จอย่างเต็มที่

Meituan ใช้ยานพาหนะในการจำลองเหตุการณ์การขนส่งสินค้าอย่างไร
Meituan เป็นบริษัทอีคอมเมิร์ซที่ใหญ่ที่สุดในรูปแบบการบริการพื้นที่ท้องถิ่น การบริการครอบคลุมมากกว่า 200 ประเภท รวมไปถึงบริการอาหาร การขนส่งแบบเร่งด่วน ซื้อขายรถยนต์หรือรถจักรยาน โรงแรมและท่องเที่ยว หนังภาพยนตร์ และสิ่งบันเทิงต่างๆ รวมถึงไลฟ์สไตล์ มีให้บริการมากถึง 2,800 ประเทศ รวมเขตและเมืองในประเทศจีน Meituan ให้บริการแก่ลูกค้า ณ ปัจจุบันอยู่ 310 ล้านคน และคู่ค้าอีกจำนวน 4.37 ล้านแห่ง
หนึ่งในการให้บริการของ Meituan คือการขนส่งอาหารแบบเร่งด่วนหรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ Meituan Waimai ถูกสร้างเมื่อเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ. 2018 Meituan Waimai ได้ให้บริการส่งเดลิเวอรี่ 21 ล้านออเดอร์ต่อหนึ่งวันและบริษัทได้ว่าจ้างคนขับส่งอาหารมากถึง 600,000 คน โดยปกติการให้บริการจะอยู่ในระยะ 3 กิโลเมตรโดยใช้เวลาประมาณ 30 นาทีในการจัดส่ง โดยขั้นตอนการจัดส่งแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน 1.ผู้ส่งเดินทางไปยังร้านอาหารเพื่อไปรับอาหาร โดยปกติก็จะเดินเข้าไปในห้างเพื่อเข้าไปในร้านอาหาร 2. ผู้ส่งเดินทางไปยังสถานที่ตึกทำงานของลูกค้า 3.ผู้ส่งใช้ลิฟต์เดินทางไปยังลูกค้าเพื่อส่งอาหารให้ถึงมือ (ดูรูปภาพที่ 6) โดยการขนส่งแต่ละขั้นตอนก็จะใช้เวลาประมาณ 10 นาทีจากเวลาการจัดส่งทั้งหมด 30 นาที
ในแต่ละขั้นตอนก็จะใช้ยานพาหนะในการเคลื่อนที่ต่างกัน ในขั้นตอนแรกและขั้นตอนสุดท้ายใช้หุ่นยนต์ที่เหมาะสมกับการอยู่ในที่ร่มตามรูปภาพที่ 7 โดยมีขนาด 0.5 x 0.8 เมตร ด้วยขนาดเล็กกะทัดรัดทำให้ง่ายต่อการขับเคลื่อนเข้าไปในห้างสรรพสินค้าและตึกสำนักงาน ตัวหุ่นยนต์สามารถระบุสถานที่ในซอฟต์แวร์ของมันจากลายนิ้วมือและการระบุตำแหน่งพร้อมกับการสร้างแผนที่ (SLAM) อีกทั้งยังสามารถสื่อสารผ่าน Zigbee เพื่อควบคุมการใช้ลิฟต์เพื่อใช้ขึ้นลงบนตึกสูงได้อีกด้วย ตัวหุ่นยนต์รับข้อมูลออเดอร์จากระบบการจัดตารางงานแบบ cloud system โดยการเคลื่อนที่ไปยังสถานที่ที่ตั้งไว้ของคู่ค้า (คนขาย) และเคลื่อนที่ไปยังเส้นทางที่ได้กำหนดไว้ จากนั้นฝาเปิดด้านบนตัวเครื่องจะเปิดเองเพื่อให้คู่ค้าใส่สินค้าอาหารลงมา เมื่อหุ่นยนต์ได้เดินทางไปถึงจุดหมายปลายทางแล้วมันจะส่งข้อความไปยังมือถือของผู้ใช้บนแอปพลิเคชันจากนั้นผู้ใช้สามารถคลิก “รับอาหาร” โดยใช้รหัสจากข้อความที่ถูกส่งมาให้ก่อนหน้านี้
ส่วนในขั้นตอนที่ 2 หุ่นยนต์ที่มีขนาดใหญ่กว่าและเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าจะถูกใช้บนท้องถนนแทนในการขนส่งสินค้าตามรูปภาพที่ 8 ในรูปภาพที่ 7 คือ หุ่นที่ใช้ในสถานที่ร่มภายในอาคาร ในรูปภาพที่ 8 คือ หุ่นที่ใช้ในสถานที่กลางแจ้งบนท้องถนน ตัวยานพาหนะนี้จะวัดระยะห่างจากรอบข้าง 1 เมตร และห่างจากข้างหน้าและหลัง 2 เมตร โดยเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และบรรจุสินค้าได้มากสุด 10 ชิ้นต่อรอบ เทคโนโลยีของยานพาหนะส่งสินค้ากับส่งผู้โดยสารนั้นเป็นเทคโนโลยีเดียวกัน นั้นก็คือ การวัดระยะเวลาในการเดินทางของลำแสงเลเซอร์ (LIDAR) กล้อง และสถานีรับสัญญาณดาวเทียม (GNSS) ซึ่งทำให้มันสามารถตรวจจับทางเดินเท้า กำแพง จักรยาน รถยนต์ และสิ่งกีดขว้างต่าง ๆได้ อีกทั้งยังสามารถตอบรับถึงไฟจราจรอีกด้วย

อุปสรรคและโอกาส
อุปสรรคยังมีอยู่มากในการขยับขยายการใช้รถยนต์ขนส่งของแบบไร้คนขับ เนื่องจากเทคโนโลยียังไม่เติบโตเต็มที่ ระบบนิเวศทั้งหมดต้องได้รับการพัฒนาต่อไปเพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือมากขึ้นและทำให้ค่าใช้จ่ายลดลงมากกว่านี้
นอกจากนี้โครงสร้างพื้นฐานที่ยังมีชีวิตของมนุษย์เรายังไม่พร้อมสำหรับการรถยนต์เคลื่อนที่อิสระ ชุมชนหลายแห่งมีทางเข้าที่ถูกล็อกหรือมีรั้วรอบขอบชิดซึ่งต้องใช้การดำเนินการด้วยบุคคลเองโดยใช้คีย์การ์ดหรือกุญแจในการเข้าถึง อาคารหลายหลังมีประตูลูกบิดหรือแบบเลื่อนซึ่งมนุษย์สามารถใช้งานได้ง่าย แต่มันยากสำหรับหุ่นยนต์ ลิฟต์ส่วนน้อยที่สามารถตอบรับกับตัวหุ่นยนต์ได้ อีกทั้งเราต้องพูดคุยกับเจ้าของอาคารเพื่อขอรับใบอนุญาตในการติดตั้งโมดูลสื่อสารในลิฟต์ทุกตัวอีกด้วย ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้ถ้าได้รับการแก้ไขและพัฒนาก็จะสามารถทำให้เราสนุกกับการใช้บริการรถขนส่งไร้คนขับนี้
กฎหมายข้อบังคับของรัฐบาลว่าด้วยเรื่องรถขนส่งไร้คนขับนั้นเป็นข้อกังวลสำคัญ ขณะที่ยานพาหนะจัดส่งเหล่านี้วิ่งด้วยความเร็วที่ค่อนข้างช้า แต่ผู้ควบคุมส่วนใหญ่พิจารณาว่า "ช้า" ที่เป็นพื้นที่สีเทาเหมาะกับรถยนต์โดยสารความเร็วสูงและรถจักรยาน ซึ่งรัฐบาลยังไม่พร้อมที่จะอนุญาตให้รถยนต์ระดับ 4 (ไร้คนขับ) อะไรจะเกิดขึ้นหากมันทำให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรง แล้วใครล่ะจะเป็นคนรับผิดชอบ ดังนั้นการจำลองเหตุการณ์ในสถานที่มิดชิดสามารถที่จะนำมาใช้ทดลองเพื่อเป็นเคสตัวอย่างและปรับเปลี่ยนใช้ในพื้นที่ที่ซับซ้อนกว่านี้ เหตุการณ์จำลองเหล่านี้เสริมวิธีการพัฒนารถยนต์ขนส่งไร้คนขับได้อยู่สองวิธี คือ นำเคสที่เป็นตัวเก็งมาช่วยในการขับเคลื่อนรูปแบบการจัดการธุรกิจ หรือ เสาะหาเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยและดีที่สุดเพื่อสร้างระบบที่ประหยัดทั้งเงินและพลังงาน

โชคยังเข้าข้างที่เทคโนโลยีในปัจจุบันนั้นสามารถรองรับยานพาหนะขนส่งที่เคลื่อนไหวด้วยความเร็วต่ำได้ แม้ว่าการขาดการสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานอาจทำให้เราไม่สามารถใช้งานได้ในบางสถานการณ์ แต่ก็ยังมีสถานการณ์ที่เหมาะสมสำหรับการใช้งานในขั้นตอนแรกของการขนส่ง ซึ่งหากว่าด้วยกฎหมายประเทศจีนนั้น รัฐบาลจีนถือว่าเป็นหนึ่งในผู้ที่ให้การสนับสนุนมากที่สุดสำหรับนวัตกรรมที่มีเทคโนโลยีสูงอย่างเช่นยานพาหนะไร้คนขับขี่นี้

อนาคตของการรถขนส่งเคลื่อนที่โดยอัตโนมัติ
ความคืบหน้าของอีคอมเมิร์ซประเทศจีนทำให้มีความต้องการด้านโลจิสติกส์มากขึ้นทั้งสำหรับการจัดส่งแบบด่วนและการจัดส่งอาหารเดลิเวอรี่ การจัดส่งแบบด่วนเป็นแม่แบบกรณีของความสำเร็จของเทคโนโลยีการขนส่งเคลื่อนที่โดยอัตโนมัติ
บทสรุปก็คือการใช้งานยานยนต์ขนส่งเคลื่อนที่โดยอัตโนมัติในวงกว้างนั้นยังคงต้องขึ้นอยู่กับการเติบโตของเทคโนโลยีและกฎระเบียบบังคับของรัฐบาล อย่างไรก็ตามปัญหาเหล่านี้ไม่ได้แสดงให้เห็นว่าจะมีคนหยุดแต่อย่างใด ปัจจุบันนี้ได้มีโครงการทดสอบจำนวนมากที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล ซึ่งช่วยให้อุตสาหกรรมนี้ได้ก้าวเข้าสู่ระบบการขนส่งเคลื่อนที่โดยอัตโนมัติอย่างลื่นไหล ทั้งนี้เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลและเคสเหตุการณ์ทดลองต่างๆ เพื่อนำมาปรับปรุงในความก้าวหน้าของเทคโนโลยี

















References

1. Levine, S. What it really costs to turn a car into a self- driving vehicle; https://qz.com/924212, 2017.

2. Xinhua News. Chinese express firms deliver over 40 bln parcels in 2017, 2018; https://bit.ly/2QnioCi

3. Xinhua News. China’s express delivery sector prepares for post-holiday bonanza, 2018; http://www.xinhuanet. com/english/2018-02/24/c 136996545.htm.


Huaxia Xia เป็นนักวิทยาศาสตร์และผู้จัดการทั่วไปของแผนกขนส่งโดยอิสระ บริษัท Meituan กรุงปักกิ่ง

Haiming Yang เป็นหัวหน้าสถาปนิกของ JD CTO กรุป กรุงปักกิ่ง
ตาม Figure 1 - 8
รูปภาพ 1 - ระดับการขับเคลื่อนของสมาคมวิศวกรยานยนต์
ระดับ 0 ไร้อัตโนมัติโดยสิ้นเชิง - อิสระในการขับเคลื่อนตัวเองเป็นศูนย์ คนขับควบคุมเองทั้งหมด
ระดับ 1 ผู้ช่วยคนขับ - ตัวรถถูกควบคุมโดยคนขับ แต่มีฟังก์ชันบางอย่างที่มากับรถที่สามารถช่วยการขับขี่ให้แก่คนขับได้
ระดับ 2 อัตโนมัติบางส่วน - ตัวรถถูกติดตั้งด้วยฟังก์ชันที่ทำงานอัตโนมัติ เช่น การเร่งความเร็วและการหมุนพวงมาลัย แต่คนขับก็ยังคงต้องคอยดูทางแล้วคอยช่วยควบคุมตัวรถ
ระดับ 3 ระบบอัตโนมัติแบบมีเงื่อนไข - คนขับไม่จำเป็นต้องคอยดูทางแต่ยังต้องคอยเฝ้าระวังเพื่อช่วยควบคุมตัวรถ
ระดับ 4 ระบบอัตโนมัติขั้นสูง - คนขับไม่จำเป็นต้องคอยดูทาง รถสามารถขับเคลื่อนได้เองโดยอิสระตามคำสั่งที่กำหนดไว้บางอย่าง แต่คนขับก็ยังช่วยตัดสินใจตัวเลือกในการควบคุมได้
ระดับ 5 ระบบอัตโนมัติเต็มสูบ - คนขับไม่จำเป็นต้องคอยดูทาง รถสามารถขับเคลื่อนได้เองโดยอิสระตามคำสั่งที่กำหนดไว้ทุกอย่าง แต่คนขับก็ยังช่วยตัดสินใจตัวเลือกในการควบคุมได้

รูปภาพ 2 ระบบเซนเซอร์ที่ติดตั้งตามยานพาหนะขับเคลื่อนอัตโนมัติ
เรียกตามชื่อภาษาอังกฤษได้เลย

Summary = ผลสถิติรวมการปลดระวางยานพาหนะขับเคลื่อนอัตโนมัติในปี 2017 แคลิฟอเนียร์
ชื่อบริษัท / จำนวนไมล์รถอัตโนมัติ/ จำนวนที่ถูกปลด / จำนวนไมล์ต่อรถที่ถูกปลด

รูปภาพ 3 การปล่อยตัวยานพาหนะขับเคลื่อนอัตโนมัติของบริษัท JD
Deployed = ที่ปล่อยไปแล้ว
Deploying = ที่กำลังปล่อย
Scenario = เคสตัวอย่าง
New Scenario = เคสตัวอย่างที่สร้างใหม่
National Operation & Dispatching Center (Plan) = ศูนย์ปฏิบัติการประจำชาติ

รูปภาพ 4 เคสยานพาหนะขับเคลื่อนอัตโนมัติของบริษัท JD ที่ถูกนำมาใช้
Scenario = เคสตัวอย่าง
Logistics Distribution = การกระจายสินค้าขนส่ง
Estate Management & Storage = การจัดการและการจัดเก็บ
Product type = ประเภทสินค้า
Small distribution robot = หุ่นยนต์กระจายสินค้าขนาดเล็ก
Medium distribution robot = หุ่นยนต์กระจายสินค้าขนาดกลาง
Indoor Inspection robot = หุ่นยนต์ตรวจสอบภายในอาคาร
Outdoor Inspection robot = หุ่นยนต์ตรวจสอบภายนอกอาคาร
Legend = รุ่น
Major Function = หน้าที่หลัก
Distribution of small items = กระจายสินค้าขนาดเล็ก
Distribution of small & medium items = กระจายสินค้าขนาดเล็กและกลาง
Fire warning security = ระบบรักษาความปลอดภัยเตือนเหตุเพลิงไหม้
Operating place = สถานที่ปฏิบัติการ
Campus & District & High-end district = มหาวิทยาลัย & เขตเมือง & เขตเมืองที่มีตึกสูง
Storehouse, Office building = คลังสินค้า, ตึกสำนักงาน
Storehouse, Factory area, Building, Community = คลังสินค้า, พื้นที่บริเวณโรงงาน, ตึก, ชุมชน

รูปภาพ 5 หุ่นยนต์ขนส่งของบริษัท JD บนท้องถนนเขตไฮเดียน กรุงปังกิ่ง

รูปภาพ 6 แผนภาพจำลองการขนส่งของหุ่นยนต์ขนส่งของบริษัท Meituan
Restaurant @ shopping mall = ร้านอาหาร ณ ห้างสรรพสินค้า
Pick up = รับสินค้า
Transportation = การขนส่ง
Discharge = แจกจำหน่าย
Consumer @ office building = ผู้บริโภค ณ ตึกสำนักงาน


รูปภาพ 7 หุ่นยนต์ตรวจสอบภายในอาคาร
ของบริษัท Meituan

รูปภาพ 8 หุ่นยนต์ตรวจสอบภายนอกอาคาร
ของบริษัท Meituan



Experience Years of experience: 9. Registered at ProZ.com: Nov 2018.
ProZ.com Certified PRO certificate(s) N/A
Credentials N/A
Memberships N/A
Software N/A
Bio
No content specified
Keywords: Thai native, Translator, English to Thai, Thai to English


Profile last updated
Dec 5, 2018



More translators and interpreters: English to Thai - Thai to English   More language pairs