Working languages:
English to Thai
Thai to English
Lao to English

Vethang Masong
PhD candidate in Translation Studies

Bangkok, Krung Thep Mahanakhon, Thailand
Local time: 02:09 +07 (GMT+7)

Native in: Thai Native in Thai
  • Send message through ProZ.com
Feedback from
clients and colleagues

on Willingness to Work Again info
No feedback collected
Account type Freelance translator and/or interpreter
Data security Created by Evelio Clavel-Rosales This person has a SecurePRO™ card. Because this person is not a ProZ.com Plus subscriber, to view his or her SecurePRO™ card you must be a ProZ.com Business member or Plus subscriber.
Affiliations This person is not affiliated with any business or Blue Board record at ProZ.com.
Services Translation, Editing/proofreading
Expertise
Specializes in:
AgricultureArt, Arts & Crafts, Painting
Automotive / Cars & TrucksMedical: Cardiology
Construction / Civil EngineeringEngineering (general)
IT (Information Technology)Petroleum Eng/Sci
Textiles / Clothing / FashionTransport / Transportation / Shipping

Portfolio Sample translations submitted: 4
Thai to English: Research Abstract
General field: Other
Detailed field: Education / Pedagogy
Source text - Thai
ชื่อเรื่อง การพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล โรงเรียนบุณฑริกวิทยาคาร อำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี

ผู้ศึกษาค้นคว้า นายอ่วง สุธรรมมา
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.ปณิธาน วรรณวัลย์
ปริญญา กศ.ม. สาขาวิชา การบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

บทคัดย่อ
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นกระบวนการดำเนินงานช่วยเหลือนักเรียนอย่างมีขั้นตอน
พร้อมด้วยวิธีการและเครื่องมือทำงานที่ชัดเจน เพื่อพัฒนานักเรียนให้เป็นคนดี คนเก่ง ปลอดภัยจาก
สารเสพติด ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1)เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 2)เพื่อเสนอวิธีการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล และ 3)เพื่อพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล โรงเรียนบุณฑริกวิทยาคาร อำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี

กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ จำนวน 38 คน ประกอบด้วย ผู้ศึกษาค้นคว้า ครูที่ปรึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 -3 จำนวน 31 คน หัวหน้า รองหัวหน้าระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 5 คน และหัวหน้ากลุ่มบริหารกิจการนักเรียน จำนวน 1 คน
กลุ่มผู้ให้ข้อมูล จำนวน 300 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 5 คน หัวหน้ากลุ่มบริหารกิจการนักเรียน จำนวน 1 คน หัวหน้าและรองหัวหน้าระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 5 คน วิทยากร จำนวน 3 คน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 143 คน และผู้ปกครองนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 143 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling)




เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามสภาพปัญหาและความต้องการการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 1 ฉบับ 2) แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจ 1 ฉบับ 3) แบบสัมภาษณ์การประชุมเชิงปฏิบัติการ 1 ฉบับ 4) แบบสัมภาษณ์การนิเทศ กำกับติดตาม 1 ฉบับ 5) แบบสังเกตครูที่ปรึกษา 1 ฉบับ 6) แบบบันทึกการนิเทศ กำกับติดตาม 6) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า 7) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครองและนักเรียน การจัดการตรวจสอบข้อมูล ใช้เทคนิคการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulation Technique) และเสนอผลการศึกษาค้นคว้าโดยวิธีการพรรณนาวิเคราะห์
ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า
1. สภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนความต้องการในการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการทดสอบก่อนและหลังการศึกษาเอกสารของกลุ่มผู้ศึกษาค้นคว้าพบว่ามีคะแนนทดสอบหลังการศึกษาเพิ่มขึ้นทุกคน ส่งผลให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้ามีความรู้ความเข้าใจการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้ชัดเจนยิ่งขึ้นและนำไปสู่การปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีระบบมากขึ้น เกิดความมั่นใจในการปฏิบัติงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนทั้ง 5 ด้าน โดยเน้นการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
2. ผลการเสนอวิธีการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล โดยใช้กลยุทธ์การประชุมเชิงปฏิบัติการ คือจัดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการที่ชัดเจน วิทยากรบรรยายเกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเบื้องต้นทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านการคัดกรอง ด้านการส่งเสริมนักเรียน ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา และด้านการส่งต่อ อีกทั้งมีการระดมความคิดแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับวิทยากร ซึ่งทำให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าผู้เข้ารับการประชุมเชิงปฏิบัติการมีความรู้ ความเข้าใจ และความมั่นใจ สามารถนำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนทั้ง 5 ด้านโดยเน้นด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลไปพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนได้ จากการสอบถามความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก และมีความพึงพอใจการประชุมเชิงปฏิบัติการอยู่ในระดับมากที่สุด
3. ผลการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยใช้กลยุทธ์การนิเทศ กำกับติดตาม โดยมีรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารกิจการนักเรียนได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการโรงเรียนให้เป็นผู้นิเทศ กำกับ ติดตาม การดำเนินงานและแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานดูและช่วยเหลือนักเรียนด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลแก่กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า ผลปรากฏว่า ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าซึ่งเป็นครูที่ปรึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถการดำเนินงานตามกระบวนการของงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีความมั่นใจในการปฏิบัติส่งผลให้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีประสิทธิภาพขึ้น ผลการสอบถามความพึงพอใจของผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า นักเรียน และผู้ปกครองโดยรวมอยู่ในระดับมาก
Translation - English
Title: The Development and Implementation of the Student Care and Support System in Aspect of Knowing of Individual Student at Buntharikwittayakarn School, Buntharik District, Ubon Ratchathani Province

Student’s Name: Mr. Uang Sudhamma
Advisor: Dr. Panithan Wannawan
Degree: Master of Education in Educational
Administration Program
Mahasarakham University

ABSTRACT

The Student Care and Supporting System (SCSS) is intended to assist students systematically by utilizing clear methods and instruments for the purpose of developing students to be clever, ethical, drug-free and able to live a happy life in society.

The objectives of this study was three-fold: 1) to investigate the current state of problems and needs in developing the SCSS in aspect of knowing of individual student, 2) to propose feasible methods to develop the SCSS in aspect of knowing of individual student, and 3) to develop the SCSS in aspect of knowing of individual student at Buntharikwittayakarn School.

Totally, there were 38 participants taking part in this study: the researcher, 31 advisers of the lower secondary students, 5 heads and sub-heads of the lower secondary level, and the head of student affairs administration. The research sample, which was obtained via stratified random sampling, consisted of 300 persons including 5 school administrators, the head of student affairs administration, 5 heads and sub-heads of the lower secondary level, 3 resource persons, 143 lower- secondary students and 143 parents.

Data were collected by using: 1) a survey questionnaire on the current state of problems and needs of developing the SCSS in aspect of knowing of individual student, 2) pre- and post-tests, 3) an interview form for the workshop, 4) an interview form for the supervision and monitoring, 5) a record form for the supervision and monitoring, 6)an advisor’s observation form, 7) a satisfaction evaluation form for the research participants, 8) a satisfaction evaluation form for the students and their parents. The researcher employed the triangulation technique to produce and check data and presented the result by using descriptive analysis.

The findings were illustrated as follows.
1) The current state of problems and needs of developing the SCSS in aspect of knowing of individual student was rated, as a whole, at the moderate level. Concerning the needs of developing the SCSS in aspect of knowing of individual student, it was rated, as a whole, at the highest level. After using pre- and post- tests with the involved participants, it revealed that all of the participants obtained higher scores in the post-test. This contributed to their better understanding in implementing the SCSS to provide assistance to the students more efficiently. Additionally, the participants also gained more confidence when dealing with all aspects of the SCSS, particularly in aspect of knowing individual student.

2) The results of developing the SCSS in aspect of knowing individual student via the strategy of using the workshop were as follows. The workshop was organized by having the experts lecture about the foundation of the SCSS in all aspects: 1) individual student information, 2) systematical screening, 3) promotion, 4) prevention and remedy, 5) referring. Next, there was a brainstorming session in which the participants and experts could exchange their perspectives. This helped the participants to broaden their horizons and gain in-depth understanding and confidence in implementing the system in all aspects, with a particular focus on knowing students individually. As a whole, the participants’ satisfaction was rated at the high level and their satisfaction on the workshop at the highest level.

3) Regarding the implementation of the supervision and monitoring strategy, the deputy school director for the student affairs administration was assigned by the school director to supervise, monitor, and brainstorm with the participants about the SCSS, particularly in aspect of knowing individual student. It was found that the participants, also as the student advisers, had gained more knowledge and better understanding in the SCSS. This led to higher confidence and resulted in efficient implementation of the system. The satisfaction of the participants, students, and parents was, as a whole, at the high level.


Thai to English: Research Abstract
General field: Other
Detailed field: Education / Pedagogy
Source text - Thai
บทคัดย่อ

เรื่อง การศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลตำบลดงเย็น อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร
ผู้วิจัย อภิสรณ์ สมสมัย
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัญฑิต
สาขาวิชา วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปาณิศาจางศิริกุล

ศัพท์สำคัญ : การศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลตำบลดงเย็น

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลตำบลดงเย็น อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร ได้ทำการศึกษาสภาพทั่วไปและสภาพปัจจุบันของการรวบรวมและการเก็บขนขยะมูลฝอย โดยการสุ่มตัวอย่างขยะมูลฝอยจาก 400 ครัวเรือน เพื่อหาปริมาณ อัตราการเกิด องค์ประกอบ ลักษณะสมบัติของขยะมูลฝอย การประมาณปริมาณขยะมูลฝอยในอีก 10 ปีข้างหน้า และการศึกษาเส้นทางการเก็บรวบรวมและการเก็บขนขยะมูลฝอยของเทศบาลตำบลดงเย็น อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร ผลการศึกษาพบว่า สภาพทั่วไปของเทศบาลตำบลดงเย็นมีพื้นที่ทั้งหมด 187 ตารางกิโลเมตร มีประชากรตามหลักฐานทะเบียนราษฎร์ ใน ปี พ.ศ.2555 จำนวน 10,158 คน คิดเป็นความหนาแน่นของประชากรเท่ากับ 54.33 คนต่อตารางกิโลเมตร ราษฎรส่วนใหญ่เก็บรวมรวมขยะภายในครัวเรือนของตนไว้ในบริเวณบ้าน ทำการกำจัดขยะด้วยวิธีการเผา และบางส่วนนำไปทิ้งตามไร่นา หรือทิ้งตามที่รกร้างว่างเปล่า ขยะมูลฝอยที่สามารถขายได้ก็จะทำการขายให้กับพ่อค้ารับซื้อของเก่า ปริมาณการเกิดขยะมูลฝอยเฉลี่ย 324.25 กิโลกรัมต่อวัน อัตราการเกิดขยะมูลฝอยเฉลี่ย 0.17 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน องค์ประกอบของขยะมูลฝอยส่วนใหญ่จะเป็นขยะทั่วไป เฉลี่ยประมาณร้อยละ 52.63 ขยะอินทรีย์เฉลี่ยประมาณร้อยละ 28.96 ขยะรีไซเคิลเฉลี่ยประมาณร้อยละ 17.66 และขยะอันตรายเฉลี่ยประมาณร้อยละ 0.06 ความหนาแน่นปกติของขยะมูลฝอย 137.18 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ความชื้นของขยะมูลฝอยเฉลี่ยร้อยละ 33.04 และจากการคาดการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยในอีก 10 ปีข้างหน้า พบว่า ในปี พ.ศ. 2564 จะมีปริมาณขยะ 1,815.43 กิโลกรัมต่อวัน ปัจจุบันเทศบาลตำบลดงเย็น ยังไม่มีหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการขยะมูลฝอย ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาเส้นทางการเก็บขนขยะมูลฝอย โดยแบ่งออกเป็น 2 เส้นทาง คือ เส้นทางที่ 1 ทำการเก็บขนขยะมูลฝอย ในวันจันทร์ วันพุธและวันศุกร์ โดยเริ่มออกจากเทศบาลตำบลดงเย็น ไปยังจุดเก็บขนดังต่อไปนี้ คือ บ้านโคกตะแบง (หมู่ที่ 5) บ้านสามขัว(หมู่ที่ 4) บ้านดอนสวรรค์(หมู่ที่ 10) บ้านดงเย็น(หมู่ที่ 1) บ้านนาทอง (หมู่ที่ 12) และบ้านโพนสวาง (หมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 14) ตามลำดับ จากนั้นจึงนำขยะมูลฝอยทั้งหมดไปยังสถานที่กำจัดของเทศบาลเมืองมุกดาหาร รวมระยะทางในการเก็บขนขยะมูลฝอยทั้งสิ้น 79.20 กิโลเมตร ใช้น้ำมันเชื้อเพลิง 7.8 ลิตรต่อวัน อัตราการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงคิดเป็น 10.15 กิโลเมตรต่อลิตร และใช้จำนวนถังขยะขนาด 120 ลิตร จำนวน 361 ถัง ส่วนเส้นทางที่ 2 ทำการเก็บขนขยะมูลฝอยในวันอังคารและวันพฤหัสบดี โดยเริ่มออกจากเทศบาลตำบลดงเย็น ไปยังจุดเก็บขนดังต่อไปนี้ คือ บ้านภูทอง (หมู่ที่ 13) บ้านโคกขามเลียน (หมู่ที่ 7) บ้านนาจาน (หมู่ที่ 8) บ้านหนองแคน (หมู่ที่ 2) บ้านคำบง (หมู่ที่ 9) บ้านป่งโพน (หมู่ที่ 3) และบ้านโนนสวรรค์ (หมู่ที่ 11 ) ตามลำดับ จากนั้นจึงนำขยะมูลฝอยทั้งหมดไปยังสถานที่กำจัดของเทศบาลเมืองมุกดาหาร ระยะทางในการเก็บขนขยะมูลฝอยทั้งสิ้น 67.56 กิโลเมตร ใช้น้ำมันเชื้อเพลิง 7.8 ลิตรต่อวัน อัตราการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงคิดเป็น 8.64 กิโลเมตรต่อลิตร และใช้จำนวนถังขยะขนาด 120 ลิตร จำนวน 289 ถัง นอกจากนี้ เทศบาลตำบลดงเย็นควรมีการจัดโครงการต่างๆเพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยก่อนทิ้งอย่างเป็นรูปธรรม เนื่องจากมีขยะอินทรีย์และขยะรีไซเคิลอยู่ในปริมาณมาก เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ราษฎรมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างยั่งยืน




Translation - English

ABSTRACT
Thesis Title: A Study of Household Waste Management in Dongyen Municipality, Mueang Mukdahan District, Mukdahan Province
Student’s Name: Apisorn Somsamai
Degree: Master of Science
Program: Environmental Engineering
Keywords: a study of household waste management in Dongyen municipality

The purpose of this study was to investigate the household waste management in Dongyen Municipality, Mueang Mukdahan district, Mukdahan province in two aspects: general information of the municipality, current situations in waste collection and transport. To collect data, 400 households were randomly selected as a sample group to find out waste quantities, characteristics, components, estimated amount of waste in the next ten years, and routes of household waste collection and transport in the area.
The findings were illustrated as follows. As for general information, Dongyen Municipality covers a total area of 187 square kilometers with a population of 10,158 as indicated in the 2012 civil registration. The population density is 54.33 per a square kilometer. The majority of villagers in the area keeps their waste items outside their houses and gets rid of them by burning. Part of household waste is disposed in farmland or deserted areas. Recycle waste items are usually sold to junk dealers. The average amount of waste generation was 324.25 per day and 0.17 kilogram per person per day. General household waste constituted 52.63 % while organic, recycle and hazardous waste items made up 28.96%, 17.66%, and 0.06% respectively. Waste density was 137.18 kilogram per square meter. The average of waste moisture content was 33.04 %. The expected amount of household waste in the next ten years was 1,815.43 per kilogram per day. Currently, there are no government units responsible for disposing household waste in the municipal area.
Two routes of household waste collection and transport were investigated in this study. The first one starts at Dongyen Municipality, passing Ban Koktabaeng (village no. 5), Ban Samkhua (village no.4), Ban Donsawan (village no.10), Ban Dongyen (village no. 1), Ban Nathong (village no.12) and Ban Phonsawang (village no.6 and 14) in that order. On this route, household waste will be collected and transferred to the waste management center in the Mukdahan City Municipality area on Mondays, Wednesdays, and Fridays. The total distance on this route is 79.20 kilometer with fuel wastage of 7.8 liter per day. The rate of fuel consumption is 10.15 kilometer per liter and 361 waste containers with a capacity of 12 liters are required.
Regarding the second route, the garbage will be collected on Tuesdays and Thursdays. This route starts at Dongyen Municipality, passing Ban Phuthong (village no. 13), Ban Kokkhamlian (village no.7), Ban Nachan (village no.8), Ban Nongkaen (village no. 2), Ban Kambong (village no.9) and Ban Pongphon (village no.3) and Ban Nonsawan (village no.11) respectively. On this route, the total distance to the waste management center is 67.56 kilometer with fuel wastage of 7.8 liter per day. The rate of fuel consumption is 8.64 kilometer per liter and 289 waste containers with a capacity of 12 liters are required. Moreover, due to the excessive amount of organic and recycle garbage, the municipality should initiate the projects to reduce the amount of household waste in a concrete way. This will also foster collaboration in sustainable waste management with local residents.






Thai to English: Police Clearance Certificate
General field: Law/Patents
Detailed field: Certificates, Diplomas, Licenses, CVs
Source text - Thai
กองบัญชาการตำรวจสันติบาล
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน
กรุงเทพมหานคร

หนังสือฉบับนี้ให้ไว้เพื่อรับรองว่า นางXXX บุคคลสัญชาติไทย เป็นผู้ไม่มีประพฤติการณ์ ที่เป็นภัยต่อความมมั่นคง แต่มีประวัติกระทำความผิดคดีอาญา และความผิดตาม พระราชบัญญัติจราจรทางบก พุทธศักราช 2522 จำนวนหนึ่งครั้ง

กระทำความผิดฐานขับรถโดยประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายถึงแก่ความตาย

ผลคดี ศาลจังหวัดอุบลราชธานี พิพากษาลงโทษจำคุก 4 ปี ปรับเป็นเงิน 20,000 บาท ให้การรับสารภาพ เป็นประโยชน์ แก่การพิจารณา ลดโทษให้กึ่งหนึ่ง คงลงโทษจำคุก 2 ปี และปรับเป็นเงิน 10,000 บาท พิเคราะห์แล้ว ได้ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ฝ่ายผู้ตายจนเป็นที่พอใจแล้ว ไม่ปรากฎว่าได้รับโทษจำคุกมาก่อน โทษจำคุกให้รอลงโทษไว้ มีกำหนด 2 ปี
Translation - English
Special Branch Bureau
Royal Thai Police Headquarter
Wang Mai Sub-district
Phathumwan District
Bangkok 10330

This is to certify that Mrs. XXX, of Thai nationality, is a person with no behavior endangering the peace and order of the security of the State. Based on the record, however, she once committed one and the same criminal act which has violated more than one provisions of the law: offence against life, offence of recklessness, and offence against Land Traffic Act B.E.2522 (1979). As a matter of fact, she drove a car in a reckless manner and caused the death of another person.
According to the Criminal Black Case No.3193/ B.E. 2555 (2012) and the Criminal Red Case No. 78/ B.E. 2555 (2012) dated on the 18th day of January, B.E. 2555 2012, the Ubon Ratchathani Provincial Court rendered judgment as follows. Mrs.XXX was sentenced to 4 years imprisonment and a total fine of 20,000 baht. However, due to the fact that she pleaded guilty, which was helpful for the trial, the punishment was reduced by one-half of the total punishment: 2 years imprisonment and a fine of 10,000 baht. Having considered that she had paid satisfying compensation to the victim’s party and that she has never been imprisoned before, the court therefore put her on probation for two years.
English to Thai: Translation of Procedures
General field: Bus/Financial
Detailed field: Business/Commerce (general)
Source text - English

8.6 วิธีการปฏิบัติการขอจัดทำเอกสาร
โดยมีขั้นตอนการดำเนินการคือ
8.6.1 เริ่มจากเจ้าหน้าที่/หัวหน้าแผนกประจำแผนก นั้นนำเสนอรูปแบบให้กับผู้บังคับบัญชาหรือผู้จัดการแผนกนั้นๆ
ถึงความต้องการที่จะจัดทำ ตามรายการเอกสารควบคุมข้างต้นของผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดทำ
( กรณีเป็นเอกสารใหม่ให้ขอหมายเลขหรือรหัสเอกสารจากเจ้าหน้าที่ควบคุมเอกสาร(DC) ก่อน )
8.6.2 หากเป็นเอกสารที่ต้องปฎิบัติ หรือต้องจัดทำอยู่แล้วให้ดำเนินการตามหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายโดยไม่ต้องขออนุมัติ
ก่อนจัดทำ เช่น Control Plan, มาตรฐานวิธีปฏิบัติงานต่าง ๆ เป็นต้น
8.6.3 ผู้บังคับบัญชาเห็นสมควรให้จัดทำเอกสารตามที่เสนอเจ้าหน้าที่/หัวหน้าแผนกจัดพิมพ์เอกสารตามรูปแบบเอกสาร
8.6.4 เขียนเอกสารคำร้องขอดำเนินการด้านเอกสาร( DAR ) FM-DC-01
8.6.5 นำเอกสารที่จัดพิมพ์เรียบร้อยแล้วพร้อมเอกสารคำร้องขอดำเนินการด้านเอกสาร (DAR) FM-DC-01
เข้าระบบควบคุมเอกสาร หรือลงทะเบียนเอกสารกับเจ้าหน้าที่ควบคุมเอกสาร (DC)
8.6.6 เจ้าหน้าที่ควบคุมเอกสาร (DC) นำเอกสารเข้าระบบ/การแจกจ่าย
หมายเหตุ : กรณีมีความจำเป็นต้องให้เจ้าหน้าที่ควบคุมเอกสาร (DC) ดำเนินการจัดพิมพ์ให้ ต้องส่งร่างเอกสาร หรือรูปแบบที่
ต้องการ ส่งให้เจ้าหน้าที่ควบคุมเอกสาร (DC)พร้อมเอกสารคำร้องขอดำเนินการด้านเอกสาร (DAR) FM-DC-01

8.7 วิธีการปฏิบัติการแก้ไขเอกสาร

การแก้ไขเอกสารนั้น หมายถึง เอกสารที่ได้ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว และได้ลงทะเบียนกับเจ้าหน้าที่ควบคุมเอกสาร
(DC) เมื่อจำเป็นต้องมีการปรับปรุงแก้ไขใหม่ ฝ่าย/แผนกที่รับผิดชอบเอกสารนั้น จะต้องดำเนินการแก้ไขเอกสารใหม่ เพื่อให้
เกิดความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการปรับปรุงภายในแผนก หรือถูกร้องขอให้มีการปรับปรุงจากลูกค้า หรือบุคคล
อื่นก็ต้องดำเนินการให้ถูกต้อง และเหมาะสม
โดยมีขั้นตอนการดำเนินการคือ
8.7.1 เริ่มจากเจ้าหน้าที่/หัวหน้าแผนกประจำแผนกนั้นนำเสนอรูปแบบให้กับผู้บังคับบัญชา หรือผู้จัดการแผนกนั้น ๆ ถึง
ความต้องการของเอกสารที่ต้องการแก้ไขว่ามีสาเหตุมาจากอะไร, ทำไมต้องแก้ไข, โดยออกเอกสารคำร้องขอ
ดำเนินการด้านเอกสาร (DAR) FM-DC-01
8.7.2 หลังจากที่ได้รับการอนุมัติแล้ว หรือเห็นสมควรก็ให้ดำเนินการแก้ไขเอกสารดังกล่าว
8.7.3 เอกสารที่แก้ไขเอกสารใหม่ต้องแสดงสถานะของการแก้ไขให้เห็นชัดเจน กล่าวคือเมื่อมีการประกาศใช้ครั้งแรก
สถานะของเอกสารจะเป็น Rev. 0 เมื่อมีการแก้ไขใหม่จะระบุเป็น Rev. 1 ทุกหน้าของเอกสาร หากมีการแก้ไขเอกสาร
ที่เอกสารระบุเป็น Section หรืออื่น ๆ เช่น ซึ่งมีมากกว่า 1 Section การแก้ไขให้ระบุเป็น Rev. 1 ทุกหน้าของ Section
นั้น ๆ หากมีการแก้ไขเอกสารมากกว่าหรือเท่ากับ 80 % ขึ้นไปให้ออกเอกสารเป็นฉบับใหม่ทั้งชุด จาก Edition 0 เป็น
Edition 1
8.7.4 นำเอกสารที่จัดพิมพ์แก้ไขเรียบร้อยแล้วพร้อมเอกสารคำร้องขอดำเนินการด้านเอกสาร (DAR) FM-DC-01
เข้าระบบควบคุมเอกสาร หรือลงทะเบียนเอกสารกับเจ้าหน้าที่ควบคุมเอกสาร (DC)
8.8.5 เจ้าหน้าที่ควบคุมเอกสาร(DC) นำเอกสารเข้าระบบ/การแจกจ่าย
Translation - Thai
8.6 Requesting for Document Production
Process:
8.6.1. The officer in charge or the section head notifies his/her superordinate or the section manager about the
the need of document production, as indicated in the list of controlled documents.
( In case of new documents, the officer must submit a request for issuing document number and code to the DC first.)
8.6.2. Day-to-day documents such as control plans and standard operating procedures can be produced without
the superordinate's approval.
8.6.3. Once the request is approved by the superordinate, the officer in charge or the section head starts to produce the document.
8.6.4. Make a document action request via form DAR FM-DC-01 ((DAR)FM-DC-01)
8.6.5. Printed documents together with DAR FM-DC-01 are processed into the document control system or registered by the DC.
8.6.6. The DC puts the document into the system or disseminates it.
Remarks : Where the DC types the document, the document draft and DAR FM-DC-01 must be submitted to the section.

8.7 Document Amendment
Document amendment occurs when the document has been used and registered by the DC.
When the document needs to be revised and amended, the section or division that is responsible for the document
shall perform some actions to make it complete. Amendment can be made inside the section or when the request
for document amendment is made by customers or individuals.
Process:
8.7.1. The officer in charge notifies his/her superordinate or the section manager about the need to amend
the document. Causes and reasons for document amendment should be specified. The request is made using DAR FM-DC-01.
8.7.2. Once the request is approved, the officer can amend the document.
8.7.3. Amended documents must be clearly indicated--that is to say, once the document is first used, the code
Rev.0 is indicated. However, after the amendment, the code will be changed into Rev.1 and shown on every
page of the document. If the amendment is made in a section (Section) or more than one section, use the code
Rev.1 on every page of the section. In case that 80% of the document is amended, issue a new document and
change Edition 0 (Edition 0) to Edition 1 (Edition 1)
8.7.4.Put the printed document into the document control system or have it registered by DC.
8.7.5.The DC proceeds to enter the document into the system and/or distributes it

Translation education Master's degree - King Mongkut's University of Technology
Experience Years of experience: 17. Registered at ProZ.com: Nov 2018.
ProZ.com Certified PRO certificate(s) N/A
Credentials N/A
Memberships N/A
Software N/A
Bio

Sawasdee Krub (Hello in Thai),


My name is Vethang Masong or Singha from Thailand. My expertise lies in, but not limited to, rendering academic texts from English to Thai and Lao and vice versa.  I am currently a PhD candidate in Language and Communication and conducting my dissertation on translation theories and practices. With a vast experience in translating texts of a wide range of genres, I am able to produce translations which are highly equivalent to the source text yet friendly to the readers. Added to this, being able to work under pressure  and time constraint is one of my best qualities. 

Looking forward to being part of your success

Regards

Singha

Bangkok/Thailand 

Keywords: Quality translation (English-Thai-Lao)


Profile last updated
Nov 21, 2018



More translators and interpreters: English to Thai - Thai to English - Lao to English   More language pairs